Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลมารดาทารก ในระยะที่ 1 ของการคลอด - Coggle Diagram
การดูแลมารดาทารก ในระยะที่ 1 ของการคลอด
การรับใหม่ผู้คลอด
ขั้นตอนของการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการซักประวัติ
การตรวจร่างกาย เพื่อค้นหาปัญหาและให้การพยาบาลโดยการเตรียมผู้คลอด รวมทั้งมีการบันทึกข้อมูลต่างๆไว้เป็นหลักฐาน
ผู้ที่รับผู้คลอดจะต้องให้การต้อนรับด้วยไมตรีจิต
ญาติต้องเข้าใจ และสามาถช่วยผู้คลอดให้เกิดความอบอุ่น
หลักการประเมินผู้คลอดแรกรับใหม่
การซักประวัติ
8.การได้รับการสอนเกี่ยวกับการเตรียมตัวเพื่อการคลอด จำนวนครั้งที่มาฝากครรภ์ และแพทย์ผู้ดูแล
7.ประวัติด้านจิตสังคม
ข้อมูลส่วนบุคคล
5.ประวัติการเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัว
4.ประวัติการแพ้ยาและสารอาหารต่างๆ การผ่าตัด
3.ประวัติความเจ็บป่วยทางอายุรกรรม และศัลยกรรม ทั้งปัจจุบัน และอดีต
2.ประวัติทางสูติกรรม
ประวัติจากอาการนำที่ผู้คลอดมาโรงพยาบาล
การตรวจร่างกาย
1.การตรวจร่างกายทั่วไป
1.ลักษณะรูปร่าง
2.ลักษณะทั่วไป
3.สัญญาณชีพ
4.น้ำหนัก
5.พฤติกรรมการแสดงออกถึงความเจ็บปวด
6.อาการบวม
7.ผลการการตรวจพิเศษอื่นๆ
8.ผลการตรวจเลือด
9.ผลการตรวจปัสสาวะ
2.การตรวจร่างกายเฉพาะที่
1.การดู
1.ขนาดของท้อง
2.ลักษณะมดลูก
3.การเคลื่อนไหวของทารก
4.ลักษณะทั่วไปของท้อง
2.การฟัง
เพื่อประเมินความสัมพันะ์ของระดับยอดมดลูกกับอายุครรภ์
การคาดคะเนน้ำหนักของทารก(EFW = HF x AC)
ความสูงของยอดมดลูก
ปกติ 33-37 cms
< 32 cms ทารกมักจะตัวเล็ก
มากกว่า 38 CMS ทารกจะตัวโต ทำให้มดลูกหดรัดตัวได้ไม่ดีในระยะคลอด คลอดยาก หรือตกเลือดหลังคลอด
3.การคลำ
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจปัสสาวะ หาโปรตีนและน้ำตาล เพื่อประเมินภาวะความดันโลหิตสูงจากการครรภ์และภาวะเบาหวาน
ประเมินภาวะขาดออกซิเจนของทารกในครรภ์
fetal distress
อัตราการเต้นของหัวใจทารก เร็วมากกว่า 160 ครั้ง/ นาที
อัตราการเต้นของหัวใจทารก ช้าน้อยกว่า 110 ครั้ง/นาที
มีขี้เทา (Meconium stained amniotic fluid)
จังหวะการเต้นของหัวใจทารกไม่สม่ำเสมอ
ตำแหน่งเสียงหัวใจทารกในระยะคลอดจะเปลี่ยนไปตามการ
ดำเนินการคลอด
การตรวจภายใน
วัตถุประสงค์
1.เพื่อวินิจฉัยว่าผู้คลอดเข้าสู่ระยะการคลอด
3.เพื่อวินิจฉัยภาวะผิดปกติต่างๆของช่องทางคลอดและส่วนนำของทารกในครรภ์
4.เพื่อวินิจฉัยท่าของทารกในครรภ์
2.เพื่อวินิจฉัยความก้าวหน้าของการคลอด
1.สภาพปากมดลูก
1.การเปิดขยายของปากมดลูก
2.ความบางของปากมดลูก
3.การบวมของปากมดลูก
4.ตำแหน่งของปากมดลูก
2.การตรวจหาส่วนนำ
1.ดูว่าส่วนนำเป็นอะไร
2.ดูระดับของส่วนนำ
2.1 Plane ส่วนที่กว้างที่สุด
High plane หมายถึง ส่วนนำอยู่เหนือระดับของ ischial spines
Mid plane หมายถึง ส่วนนำอยู่พอดีกับระดับของ ischial spines
Low plane หมายถึง ส่วนนำอยู่ต่ำกว่าระดับของ ischial spines
2.2 Station ส่วนที่อยู่ต่ำที่สุดของทารก
ใช้ ischial spines เป็นหลัก คือ กระดูกกะโหลกศีรษะ
3.ตรวจหาท่าของทารก
1.รอยต่อแสกกลาง ว่าอยู่หน้า หลัง เฉียง หรือขวางกับแนวดิ่ง หรือช่องคลอด
2.เป็นการคลำจากการตรวจดู sagittal suture ขม่อมหลัง (Posteriorfontanel) หรือขม่อมหน้า (Anterior fontanel) ตำแหน่งของมัน อยู่หน้า หรือหลังซึ่งจะช่วยบอกท่าของทารก
4.การตรวจดูสภาพของน้ำทูนหัว
1Membrane intact (M1) ตรวจพบถุงน้ำโปงแข็งตึง คลำส่วนนำได้ยาก
2 Membrane leakage (ML) ตรวจพบถุงน้ำไม่ค่อยแข็งตึง
3 Membrane rupture (MR) คลำส่วนนำได้เช่นเดียวกัน แต่พบส่วนนำ
ชัดเจน
5.การตรวจหาขนาดของก้อนโน (Caput succedaneum)
เกิดจากการที่ศีรษะของทารกกดกับช่องทางคลอด ทำให้น้ำเหลืองไหลซึมจากหลอดเลือดมาขังใต้เนื้อเยื่อของหนังศีรษะเกิดเป็นก้อนโน
6.การเกยกันของกระดูกศีรษะ (Molding)
เกิดจากแรงบีบของช่องทางคลอดเพื่อปรับขนาดของศีรษะทารกให้เล็กผ่านข่องทางคลอดได้ง่ายขึ้น
ลักษณะของถุงน้ำ
MI = Membrane Intact (ถุงน้ำยังอยู่)
MR = Membrane Rupture (ถุงน้ำแตกแล้ว)
ML = Membrane Leaked (ถุงน้ำคร่ำรั่ว)
SRM = Spontaneous Rupture of Membrane (ถุงน้ำแตกเอง)
ARM = Artificial Rupture of Membrane (ได้รับการเจาะถุงน้ำ)
การคาดคะเนเวลาการคลอด
ครรภ์แรกปากมดลูกเปิดขยาย 1 cm./hr. (1.2 cm./hr.)
ครรภ์หลังปากมดลูกเปีดขยาย 1.5 cm./hr.
ในใบPartograph จะคิดชั่วโมงละ 1 cm.
ข้อบ่งชี้ในการตรวจภายใน
1.ผู้คลอดรับใหม่ทุกราย
2.ผู้คลอดที่อยู่ในระยะที่หนึ่งของการคลอด ตรวจดูความก้าวหน้าของการคลอด
3.ในรายถุงน้ำทูนหัวแตกทันที
4.เมื่อเจ็บครรภ์ถี่ และรุนแรงขึ้น
สงสัยว่าทารกในครรภ์อยู่ในท่าที่ผิดปกติ
5.ก่อนการสวนอุจจาระให้กับผู้คลอด
ุ6.ในรายระยะการคลอดล่าช้า
7.ระหว่างหรือภายหลังการซ่อมแซมแผลฝีเย็บ
8.ผู้คลอดรู้สึกอยากเบ่งหรือเริ่มเบ่ง
ข้อห้ามในการตรวจภายใน
1.ผู้คลอดที่มีประวัติเลือดออกระหว่างการตั้งครรภ์
2.ส่วนนำทารกยังไม่เข้าสู่ช่องเชิงกราน
3.เห็นศีรษะของทารกในครรภ์
4.ในระยะที่มีการอักเสบมากบริเวณทวารหนัก
5.กรณีถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
การเตรียมผู้คลอดในการตรวจภายใน
1.บอกให้ผู้คลอดทราบและอธิบายให้เข้าใจ
2.ให้ผู้คลอดถ่ายปัสสาวะก่อนการตรวจ
3.ควรรูดม่าน และปิดประตูทุกครั้ง
4.จัดท่านอนหงายเข่าชันเข่าทั้งสองข้าง
5.คลุมผ้าให้ผู้คลอดให้เรียบร้อย
การเตรียมผู้คลอด
ด้านจิตใจ
1.อธิบายให้ทราบเกี่ยวกับภาวะสุขภาพมารดาและทารก
2.อธิบายเกี่ยวกับการรับไว้เพื่อรอคลอด
เปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัย
ด้านร่างกาย
1.การทำความสะอาดบริเวณอวัยวะเพศสืบพันธ์ุภายนอกและฝีเย็บ
2.การสวนอุุจาระ
3.การทำความสะอาดร่างกาย
4.จัดให้พักผ่อนในห้องรอคลอดและดูแลอย่างใกล้ชิด
การบันทึกรายงาน
เพื่อรวบรวมข้อมูลปัญหา และการพยาบาลที่ผู้คลอดได้รับและผลการประเมินรวมทั้งการเซ็นต์ยินยอมรับหารรักษา
การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
1.การหดตัวของมดลูก
การประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
1.การประเมินโดยใช้เครื่องอิเล็กโทรนิก
2.การประเมินโดยการวางฝ่ามือบนยอดมดลูก
ถ้ามดลูกหดรัดตัวแรงมากผิดปกติ จะทำให้ไม่สามารถสัมผัสหน้าท้องได้ หรือมี Bandl's ring
2.การเปิดขยายและความบางของปากมดลูก
การสั้นบางและเปิดขยายของปากมดลูก
เมื่อการคลอดก้าวหน้าขึ้นมดลูกจะเปิดหมด คือ 10เซนติเมตร และบางหมด 100 %
3.การเคลื่อนต่ำของส่วนนำและการหมุนของศีรษะทารก
4.ตำแหน่ง FHS
5.มูก ถุงน้ำคร่ำ อาการผู้คลอด
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
ทารกจะเคลื่อนต่ำลงและมีการหมุนของศีรษะภายในตามกลไกการ
คลอดปกติดี (จากการตรวจภายใน)
ตำแหน่งของเสียงหัวใจทารกจะเคลื่อนต่ำลง และเบนเข้าหาแนว
กึ่งกลางลำตัวของผู้คลอด
การตรวจทางช่องคลอด
ระยะ latent ควรตรวจทุก 4 ชั่วโมง
ระยะ active ควรตรวจทุก 2 ชั่วโมง
หลักการประเมินภาวะแทรกซ้อน
1.ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์
2.สายสะดือย้อย
3.การคลอดยาวนาน การคลอดยาก
4.ความผิดปกติในการหดรัดตัวของมดลูก
5.ภาวะแทรกซ้อนต่างๆที่อาจเกิดขึ้น