Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพทางการตลาด - Coggle Diagram
อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพทางการตลาด
ดุลยภาพของตลาด(Market Equilibrium)
การกำหนดราคาและปริมาณของสินค้าแต่ละชนิดในตลาด อุปสงค์ + อุปทาน
กลไกราคา (Price mechanism) ราคาจะปรับตัวเพื่อให้เกิดความสมดุล ระหว่างการเสนอซื้อและเสนอขายสินค้า
เมื่อเกิดอุปทานส่วนเกินขึ้น ราคาสินค้าจะปรับตัวลดลง เมื่อเกิดอุปสงค์ส่วนเกินขึ้น ราคาสินค้าจะปรับตัวสูงขึ้น
อุปสงค์ และ อุปทาน กับงานสาธารณสุข
อุปสงค์กับสาธารณสุข
อุปสงค์ต่อสุขภาพ (Demand for health) เป็นความต้องการหรือความจำเป็น ที่ ผู้บริโภคแสดงออกเพื่อให้มีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ
อุปสงค์ต่อการรักษาพยาบาล (Demand for health care) ระดับการ รักษาพยาบาลที่ผู้บริโภคจะรับบริการ ณ ระดับราคาต่างๆ กัน
อุปทานกับสาธารณสุข
อุปทานในด้านการบริการสาธารณสุข (Supply for public health)
บริการในโรงพยาบาล (จำนวนเตียง ชั่วโมงการ ให้บริการ) ยารักษาโรค
อุปทานในการบริการทางการแพทย์ (Supply for health services )
จำนวนชั่วโมงที่ให้บริการเมื่อเทียบกับ ค่าตอบแทนที่บุคลากรเหล่านี้พึงได้รับจากการให้บริการนั้น
ความจาเป็นโดยอาศัยหลักอุปสงค์
Felt need ความจำเป็นที่ตระหนัก ที่ผู้บริโภครู้สึกว่าต้องมี
Express need ความจำเป็นที่แสดงออก ต้องการด่วน
Normative need ความจำเป็นที่ควรมี ซึ่งเป็นการประเมินโดยแพทย์
Comparative need ความจำเป็นเปรียบเทียบ
ปัจจัยกำหนดพฤติกรรมในการซื้อสุขภาพ
ฤดูกาล (Season)
ปัจจัยด้านอายุ (Age )
ระดับรายได้ (Income)
เพศ (Gender)
ราคาค่าบริการ (Price )
พันธุกรรม (Genetic )
พื้นฐานการศึกษา (Education )
ความรุนแรงของโรค (Severity)
อุปสงค์(Demand)
กฎของอุปสงค์
อุปสงค์ต่อรายได้
สินค้าปกติ (Normal goods)
สินค้าที่ความต้องการจะเพิ่มขึ้นหากมีรายได้เพิ่มขึ้น
สินค้าด้อย (Inferior goods)
สินค้าที่ความต้องการจะเพิ่มขึ้น หากมีรายได้ลด
ปริมาณเสนอซื้อของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปตามระดับรายได้ของผู้บริโภค
อุปสงค์ต่อสินค้าอื่น
สินค้าที่ใช้ประกอบกันได้ (Complementary goods)
ใช้ร่วมกับสินค้าอื่น เมื่อมีสินค้าใดเพิ่มหรือลด สินค้าอีกตัวก็จะเปลี่ยนแปลงไปด้วย เช่น รถ-น้ำมัน
สินค้าที่เป็นอิสระต่อกัน (Independent goods)
ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน ประโยชน์คนละด้าน เช่น ยาสระผม-โดนัท
สินค้าที่ใช้ทดแทนกันได้ (Substitute goods)
แทนกันด้วยวัตถุประสงค์เดียวกันและความสามารถใช้แทนกันได้ เช่น โค้ก-เป๊บซี่
อุปสงค์ต่อราคา
อุปสงค์ส่วนบุคคล (Individual Demand)
ปริมาณสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งของผู้บริโภคแต่ละคน ณ ระดับราคาต่างๆ ของสินค้านั้น
อุปสงค์ตลาดสำหรับสินค้าใดๆ (MarketDemand)
ปริมาณสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้ซื้อทุกคนในตลาดเต็มใจที่จะซื้อ ณ ระดับราคาสินค้าต่างๆ
ปริมาณสินค้าหรือบริการที่ผู้บริโภคต้องการซื้อแปรผกผันกับระดับราคาของสินค้าหรือบริการชนิดนั้นเสมอ
ปัจจัย
รสนิยมของผู้บริโภค
ราคาสินค้าอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ระดับรายได้ของผู้บริโภค
ขนาดของประชากร
ราคาของสินค้า
การคาดคะเนราคาสินค้าในอนาคต
อุปสงค์ที่ทรงอิทธิพล(อุปสงค์ที่แท้จริง)
ความสามารถที่จะจ่ายได้(Ability to pay)
มีอำนาจซื้อ(Purchasing power)
ความเต็มใจที่จะซื้อ(Willingness to pay)
การเปลี่ยนแปลงในปริมาณของอุปสงค์ (Change in quantity demanded) เปลี่ยนแปลงทางราคาสินค้าและการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นบนอุปสงค์เส้นเดียว
การเปลี่ยนแปลงในระดับอุปสงค์ (Change indemand) เปลี่ยนแปลงของปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์อื่นๆ ที่ไม่ใช่ราคา และการ เปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นในเส้นอุปสงค์เส้นใหม
อุปทาน
กฎของอุปทาน
ปริมาณสินค้าหรือบริการที่ผู้ผลิตต้องการขายแปรผันตามระดับราคาของสินค้าหรือบริการชนิดน้ันเสมอ
ถ้าราคาสินค้าสูงขึ้น ปริมาณการซื้อสินค้าจะสูงขึ้น
ถ้าราคาสินค้าลดลง ปริมาณการซื้อสินค้าจะลดลง
ปัจจัย
เทคโนโลยีการผลิต
จำนวนผู้ผลิต
ราคาของปัจจัยการผลิต (ต้นทุน)
สภาพดินฟ้าอากาศ
ราคาของสินค้าอื่นที่อาจผลิตได้
นโยบาลรัฐบาล
ปริมาณสินค้าและบริการที่ผู้ผลิตยินดีเสนอขาย ณ ระดับราคาต่าง ๆ กัน
อุปทานของหน่วยผลิต (Individual Supply)
อุปทานเนื้อไก่ของบริษัท A
อุปทานตลาด (Market Supply)
อุปทานของเน้ือไก่ในประเทศไทย
การเปลี่ยนแปลงในระดับอุปทาน (Change in quantity supplied) เป็นการเปลี่ยนแปลงของปริมาณสินค้าที่ผู้ผลิตเต็มใจเสนอขายเนื่องจากการ เปลี่ยนแปลงของปัจจัยอื่นๆ จะทาให้เส้นอุปทานเลื่อนไปทั้งเส้น
การเปลี่ยนแปลงในปริมาณอุปทาน (Change in quantity supplied) เป็นการเปลี่ยนแปลงราคาสินค้าจะทำให้ปริมาณเสนอขายเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน