Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อุปสงค์ อุปทาน และดุลยภาพการตลาด, นางสาววรัญญา มั่นศรี เลขที่64 ห้อง1A…
อุปสงค์ อุปทาน และดุลยภาพการตลาด
อุปสงค์ (Demand)
mend
อำนาจการซื้อ (Purchasing power)
ความต้องการซื้อ (Want)
อุปสงค์ที่ทรงประสิทธิผล (Effective demand)
อุปสงค์หรือความต้องการซื้ออย่างแท้จริง
ความสามารถที่จะจ่ายได้ (Ability to pay)
ความเต็มใจหรือยินดีจะซื้อ (Willingness to pay)
อำนาจซื้อ (Purchasing power)
กฎของอุปสงค์ (Law of Demand)
ปริมาณที่ผู้บริโภคต้องการซื้อแปรผกผันกับระดับราคา
1.อุปสงค์ต่อราคา (Price demand)
Qd ณ ระดับราคาต่าง ๆ ของ P ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ปัจจัยอื่นคงที่
Pสูง Qdต่ำ
ราคาสินค้าสูงขึ้นปริมาณการซื้อลดลง
Pต่ำ Qdสูง
ราคาสินค้าลด ปริมาณการซื่อเพิ้ม
2.อุปสงค์ต่อรายได้ (Income demand)
สินค้าปกติ (Normal goods) (Yสูง Qdสูง)
สินค้าด้อย (Inferior goods) (Pสูง Qdต่ำ)
Qd ของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปตามระดับ Y ของผู้บริโรค
3.อุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น
ความต้องการซื้อของผู้บริโภค ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคาสินอื่น
สินค้าที่ใข้ทดแทนกันได้
สินค้าใช้แทนกันด้วยวัตถุประสงค์เดียวกัน เมื่อราคราสินค้าชนิดหนึ่งเปลี่ยนราคาสินค้าอีกชนิดจะเปลี่ยนไปในทิศตรงกันข้าม
สินค้าที่ใช้ประกอบกันได้
สินค้าที่ต้องใช้ร่วมกับสินค้าอื่น เมื่อสินค้าหนึ่งเพิ่มขึ้นหรือลดลงจะส่งผลทำให้ปริมาณเสนอซื้อสินค้าอีกชนิดเปลี่ยนตามด้วย
สินค้าที่เป็นอิสระต่อกัน
สินค้าไม่จำเป็นต้องใช้ประกอบหรือใช้ทดแทนกัน
กฏของอุปสงค์เกิดจากผลทางราคา
ผลทางรายได้
ราคาเปลี่ยนแปลงจะส่งผบให้รายได้ที่แท้จริงเปลี่ยน
เงินเท่าเดิม ซื้อของได้มากขึ้น
ผลทางการทดแทน
ราคาสินค้าชนิดหนึ่งเปลี่ยนอีกชนิดคงเดิม จะทำให้ราคาเปรียบเทียบของสินค้าชนิดนั้นเปลียนแปลง
ซื้อของถูก แทนของแพง
อุปสงค์ส่วนบุคคล (Individual demand)
ปริมาณสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งของผู้บริโภคแต่ละคน ณ ระดับราคาต่าง ๆ ของสินค้า
อุปสงค์ตลาดสำหรับสินค้าใด ๆ (Market demand)
ปริมาณสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้ซื้อทุกคนเต็มใจจะซื้อ ณ ระดับราคาสินค้าต่างๆ
การเปลี่ยนแปลงในปริมาณอุปสงค์
เปลี่ยนปัจจัยกำหนดอุปสงค์ที่ไม่ใช่ราคา เกิดบนเส้นอุปสงค์ใหม่
เกิดขึ้นจากสาเหตุการเปลี่ยนแปลงทางราคาสินค้า เกิดขึ้นบนอุปสงค์เส้นเดียว
ปัจจัยกำหนดอุปสงค์
ราคา
ระดับรายได้ผู้บริโภค
รสนิยมผู้บริโภค
ราคาสินค้าที่เกี่ยวข้อง
ขนาดของประชากร
การคาดคะเนราคาสินค้าในอนาคต
อุปทาน (Supply)
ปริมาณสินค้า (Q) ที่ผู้ผลิตยินดีเสนอขาย ณ ระดับราคา (P) ต่าง ๆ กัน
อุปทานตลาด (Market Supply)
อุปทานจำนวนสินค้าของผู้ผลิตทุกรายที่ต้องการผลิตออกขาย ณ ระดับต่าง ๆของราคาสินค้า
อุปทานของหน่วยผลิต (Supply Individual)
อุปทานจำนวนสินค้าของผู้ผลิตที่ต้องการผลิตขาย ณ ระดับต่าง ๆของราคาสินค้า
กฏของอุปทาน
ปริมาณสินค้าที่ผู้ผลิตต้องการขายแปรผันตามระดับราคาของสินค้าเสมอ
ราคาสินค้าสูงขึ้น ปริมาณการซื้อสินค้าสูงขึ้น (P Qd)
ราคาสินค้าลดลง ปริมาณการซื้อสินค้าลดลง (Pต่ำ Qdต่ำ)
การเปลี่ยนแปลง
ในปริมาณอุปทาน
เปลี่ยนแปลงรคาสินค้าจะทำให้ปริมาณเสนอขายเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน
ในระดับอุปทาน
เปลี่ยนแปลงปริมาณสินค้าที่ผู้ผลิตเต็มใจเสนอขายเนื้องจากการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยอื่นทำให้เส้นอุปทานเลื่อนไปทั้งเส้น
ปัจจัยกำหนดอุปทานตลาด
ราคาของปัจจัยการผลิต
เทคโนโลยีการผลิต
ราคาของสินค้าอื่นที่อาจผลิตได้
จำนวนผู้ผลิต
นโยบายรัฐ
สภาพดินฟ้าอากาศ
ดุลยภาพของตลาด
การกำหนดราคาและปริมาณของสินค้าแต่ละชนิดในตลาด
กลไกราคา ราคาจะปรับตัวเพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างการเสนอซื้อและเสนอขาย
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
อุปทานส่วนเกิน
ปริมาณเสนอขายมากกว่าปริมาณเสนอซื้อ
ราคาสินค้าจะปรับตัวลดลง
อุปสงค์ส่วนเกิน
ปริมาณเสนอซื้อมากกว่าปริมาณเสนอขาย
ราคาสินค้าจะปรับตัวสูงขึ้น
อุปสงค์ อุปทาน กับงานสาธารณสุข
อุปสงค์กับงานสาธารณสุข
ความจำเป็นโดยอาศัยหลักอุปสงค์
Express need
ความจำเป็นที่แสดงออก ปรับความจำเป็นให้เป็นการกระทำ
Felt need
ความจำเป็นที่ตระหนัก ผูุ้บริโภครู้สึกว่าต้องมี
Normative need
ความจำเป็นที่ควรมี ประเมินโดยแพทย์
Comparative need
ความจำเป็นเปรียบเทียบ กลุ่มประชาการเหมือนกันควรได้รับบริการเหมือนกัน
อุปสงค์ต่อสุขภาพ
ความจำเป็นที่ผู้บริโภคแสดงออกเพื่อให้มีสุขภาพสมบูรณ์ ณ ระดับราคาเงา
อุปสงค์ต่อการรักษา
ระดับการรักษาพยาบาลที่ผู้บริโภคจะได้รับบริการ ณ ระดับราคาต่าง
ปัจจัยกำหนดพฤติกรรมของผู้บริโภคในการซื้อบริการสุขภาพ
ปัจจัยด้านอายุ
ฤดูกาล
เพศ
ระดับรายได้
พันธุกรรม
ค่าบริการ
ความรุนแรงของโรค
อุปทานกับงานสาธารณสุข
บริการที่ผู้ผลิตยินดีจะเสนอให้ผู้บริโภค ณ ราคาต่าง ๆ
ไม่ได้มีจุดมุ่งหมายเพื่อแสวงหากำไรสูงสุด
ลักษณะพิเศษของบริการสุขภาพ
การผลิตและการบริโภคเกิดขึ้นพร้อมกัน
บริการสุขภาพไม่สามารถทำสำรองหรือเก็บไว้ล่วงหน้าได้
บริการสุขภาพจำต้องไม่ได้
อุปทานในการบริการทางการแพทย์
จำนวนชม.ที่ให้บริการเมื่อเทียบกับค่าตอบแทนที่ควรได้
อุปทานในด้านการบริการสาธารณสุข
บริการในโรงพยาบาล
จำนวนเตียง
ชม.การบริการ
ยารักษา
ตลาดและตลาดสุขภาพ
สถานที่ที่ผู้ซื้อและผู้ชายสามารถแลกเปลี่ยนกันได้ แม้ไม่มีสถานที่ซื้อขาย
ตลาดประกันสุขภาพ
ตลาดการให้บริการของโรงพยาบาล
ตลาดการรักษาทางการแพทย์
ตลาดแรงงานทางการแพทย์
นางสาววรัญญา มั่นศรี เลขที่64 ห้อง1A รหัส 63123301127