Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อุปสงค์ อุปทาน และดุลยภาพการตลาด - Coggle Diagram
อุปสงค์ อุปทาน และดุลยภาพการตลาด
อุปสงค์ (Demand)
อุปสงค์ที่ทรงประสิทธิผล
: อุปสงค์หรือความต้อการซื้อที่จะมีผลอย่างแท้จริง
ความเต็มใจหรือยินดีที่จะซื้อ
ความสามรถที่จะจ่ายได้
มีอำนาจซื้อ
กฎของอุปสงค์
: "ปริมาณสินค้าหรือบริการ ที่ผู้บริโภคต้องการซื้อย่อมผันแปรผกผันกับระดับราคาของสินค้าหรือบริการชนินั้นเสมอ"
อุปสงค์ต่อราคา
: ปริมาณเสนอซื้อสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่ง ณ ระดับราคาต่างๆกันของสินค้าในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยกำหนดปัจจัยอื่นคงที่
อุปสงค์ต่อรายได้
: ปริมาณเสนอซื้อของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปตามระดับรายได้ของผู้บริโภค
อุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น
: ความต้องการซื้อสินค้าและบริการของผู้บริโภค ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้องในด้าน
สินค้าที่ใช้ทดแทนกันได้
: สินค้าที่ใช้แทนกันด้วยวัตถุประสงค์เดียวกันและความสามารถใช้แทนกันได้
สินค้าที่ใช้ประกอบกันได้
: สินค้าที่ต้องใช้ร่วมกับสินค้าอื่น เมื่อสินค้าเพิ่มขึ้นหรือลดลงจะมีผลทำให้ปริมาณการเสนอซื้อสินค้าอีกชนิดหนึ่ง เปลี่ยนแปลงตามไปด้วย
สินค้าที่เป็นอิสระต่อกัน
: เป็นสินค้าที่ไม่เกี่ยวข้องกันเลย และให้ประโยชน์คนละด้าน จึงไม่จำเป็นต้องใช้ประกอบกันและใช้ทดแทนกัน
กฎของอุปสงค์เกิดจากผลทางราคา
ผลทางรายได้
: เมท่อราคาเปลี่ยนแปลง จะส่งผลให้รายได้ที่แท้จริงเปลี่ยน เช่น ถ้าราคาลดลง รายได้ที่แท้จริงจะเพิ่มขึ้น
ผลทางการทดแทน
: เมื่อราคาสินค้าชนิดหนึ่งเปลี่ยนแปลงโดยที่ราคาของสินค้าอีกชนิดหนึ่งยังคงเหมือนเดิม จะให้ราคาเปรียบเทียบของสินค้าชนิดนั้นเปลี่ยนแปลง
อุปสงค์ส่วนบุคคล
: ปริมาณสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งของผู้บริโภคแต่ละคน ณ ระดับราคาต่างๆของสินค้านั้น
อุปสงค์ตลาดสำหรับสินค้าใดๆ
: ปริมาณสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้ซื้อทุกคนในตลาดเต็มใจที่จะซื้อ ณ ระดับราคาสินค้าต่างๆ
ปัจจัยกำหนดอุปสงค์
ราคาของสินค้า
ระดับรายได้ของผู้บริโภค
รสนิยมของผู้บริโภค
ราคาสินค้าอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ขนาดของประชากร
การคาดคะเนราคาสินค้าในอนาคต
การเปลี่ยนแปลงในปริมาณอุปสงค์
: เป็นการเปลี่ยนแปลของปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์อื่นๆที่ไม่ใช่ราคาและการเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นในเส้นอุปสงค์เส้นใหม่
อุปทาน (Supply)
อุปทานของหน่วยผลิต
: อุปทานของจำนวนสินค้าหรือบริการของผู้ผลิตรายใดรายหนึ่งต้องการผลิตออกขายในช่วงเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคาต่างๆของราคาสินค้าหรือบริการชนิดนั้น
อุปทานตลาด
: อุปทานของจำนวนสินค้าหรือบริการของผู้ผลิตทุกรายในตลาดต้องการผลิตออกขายใน่วงเวลาหนึ่ง ณ ระดับต่างๆของราคาสินค้าหรือบริการชนิดนั้น
กฎของอุปทาน
: "ปริมาณสินค้าหรือบริการ ที่ผู้ผลิตต้องการขายแปรผันตามระดับราคาขงสินค้าหรือบริการชนิดนั้นเสมอ"
การเปลี่ยนแปลงในปริมาณอุปทาน และการเปลี่ยนแปลงระดับอุปทาน
การเปลี่ยนแปลงในปริมาณอุปทาน
: เป็นการเปลี่ยนแปลงราคาสินค้า จะทำให้ปริมาณเสนอขายเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน
การเปลี่ยนแปลงในระดับอุปทาน
: เป็นการเปลี่ยนแปลงของปริมาณสินค้าที่ผู้ผลิตเต็มใจเสนอขายเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยอืนๆ
ปัจจัยกำหนดอุปทาน
ราคาของสินค้าอื่นที่อาจผลิตได้
ราคาของปัจจัยการผลิต (ต้นทุน)
เทคโนโลยีการผลิต
จำนวนผู้ผลิต
สภาพดินฟ้าอากาศ
นโยบายรัฐบาล
ดุลยภาพของตลาด
: การกำหนดราคาและปริมาณสินค้าแต่ะชนิดในตลาด
กลไกราคา
: ราคาจะปรับตัวเพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างการเสนอซื้อและเสนอขายสินค้า
การกำหนดราคาและปริมาณของสินค้าแต่ละชนิดในตลาด
อุปทานส่วนเกิน
: ปริมาณเสนอขายมากกว่าปริมาณเสนอซื้อสินค้า เมื่อเกิดขึ้น ราคาสินค้าจะปรับตัวลดลง
อุปสงค์ส่วนเกิน
: ปริมาณเสนอซื้อมากกว่าปริมาณเสนอขาย เมื่อเกิดขึ้น ราคาสินค้าจะปรับตัวสูงขึ้น
อุปสงค์และอุปทานกับงานสาธารณสุข
อุปทานกับงานสาธารณสุข
เป็นบริการที่ผู้ผลิตยินดีที่จะเสนอให้ับผู้บริโภค ณ ระดับราคาต่างๆกันไป
ลักษณะพิเศษของบริการสุขภาพ
บริการสุขภาพจับต้องไม่ได้
การผลิตและการบริโภคเกิดขึ้นพร้อมกัน
บริการสุขภาพไม่สามารถทำสำรองหรือเก็บไว้ล่วงหน้าได้
อุปทานในการบริการทางการแพทย์
: จำนวนชั่วโมงที่ให้บริการเมื่อเทียบกับค่าตอบแทนที่บุคลากรเหล่านี้พึงได้รับจากการให้บริการนั้น
อุปทานในด้านการบริการสาธารณสุข
: บริการในโรงพยาบาล เช่น จำนวนเตียง ชั่วโมงการให้บริการ ยารักษาโรค
อุปสงค์กับงานสาธารณสุข
ความจำเป็นโดยอาศัยหลักอุปสงค์
Normative need
: ความจำเป็นที่ควรมี ซึ่งเป็นการประเมิณโดยแพทย์
Felt need
: ความจำเป็นที่ตระหนัก เป็นความจำเป็นที่ผู้บริโภครู้สึกว่าต้องมี
Express need
: ความจำเป็นที่แสดงออก เป็นการปรับความจำเป็นเชิงตระหนักให้เป็นการกระทำ
Comparative need
: ความจำเป็นเปรียบเทียบกลุ่มประชากรเหมือนกันควรได้รับบริการที่เหมือนกัน
อุปสงค์ต่อสุขภาพ
: เป็นความต้องการหรือความจำเป็นที่ผู้บริโภคแสดงออกเพื่อให้มีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ ณ ระดับราคาเงา
อุปสงค์ต่อการรักษาพยาบาล
: ระดับการรักษาพยาบาลที่ผู้บริโภคจะรับบริการ ณ ระดับราคาต่างๆกัน
ปัจจัยกำหนดพฤิกรรมของผู้บริโภคในการซื้อบรการสุขภาพ
ความรุนแรงของโรค
ราคาค่าบริการ
ระดับรายได้
ฤดูกาล
ปัจจัยด้านอายุ
เพศ
พันธุกรรม
พื้นฐานการศึกษา
ตลาดและตลาดสุขภาพ
: สถานที่ที่ผู้ซื้อและผู้ขายสามารถแลกเปลี่ยนซื้อขายกันได้ ไม่ว่าจะมีสถานที่ทำการซื้อขายหรือไม่ก็ตาม
ตลาดประกันสุขภาพ
ตลาดการรักษาทางการแพทย์
ตลาดการให้บริการของโรงพยาบาล
ตลาดแรงงานทางการแพทย์