Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
anaphylaxis - Coggle Diagram
anaphylaxis
อาการและอาการแสดง
2.ระบบทางเดินหายใจ หัวใจและหลอดเลือด
กลืนลำบาก หลอดลมบวม ไอ เสียงแหบ
เกิดอาการแพ้จากยาหรือแสงทึบรังสี ประมาณ 5 นาที
1.ระบบผิวหนัง
บวม คัน ลมพิษ angioedema ร้อยล่ะ 80-90
3.ระบบทางเดินอาหาร
ท้องเสีย ปวดท้อง อาเจียน
มักพบอาการภายใน 2 ชม.
Uniphasic anaphylaxis
เป็นอาการที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียว
Biphasic anaphylaxis
เป็นอาการที่เกิดซ้ำภายหลังจากอาการดีขึ้นเป็นเวลาหลายชม.
Protracted anaphylaxis
เป็นอาการที่เกิดติดต่อกันหลายวัน
การรักษา
การใช้ยา
กลุ่มยาเพิ่มการไหลเวียนเลือดสู่กล้ามเนื้อหัวใจ
กลุ่มยาที่ทำให้หลอดเลือดหดตัว
กลุ่มยาช่วยเพิ่มการบีบตัวของหัวใจ
ภาวะเฉียบพลันต้องซักประวัติโดยละเอียดใช้หลักการดูแลผู้ป่วยวิกฤตคือ
ประเมินแก้ไขทางเดินหายใจ (Airway)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulation)
การหายใจ (Breathing)
การให้ยา (Drug)
การให้ออกซิเจนในกรณีหายใจลำบากความดันต่ำ
การจัดท่าผู้ป่วยควรจัดท่านอนหงายอาจยกขาสูง 15 องศา
การให้สารน้ำขณะเกิด anaphylaxis
การรักษาในระยะยาวและการป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะ anaphylaxis
บัตรประจำตัวผู้ป่วยบอกถึงโรคและการรักษาเบื้องต้น
ให้ผู้ป่วยพกยาฉีด epinephrine ติดตัวและสอนวิธีการใช้ยาอย่างถูกต้อง
ให้ผู้ป่วยพกยาฉุกเฉินระยะอื่นตามที่แพทย์เห็นสมควร
แนะนำให้ผู้ป่วยแพทย์เฉพาะทางพิจารณาฉีดวัคซีนภูมิแพ้
สาเหตุ
Immunologic machanisms ชนิด IgE-dependent
อาหารบางประเภท เช่น อาหารทะเล ไข่ ถั่ว และแป้งสาลี
การถูกพิษแมลง กัด ต่อย เช่น ผึ้ง ต่อ มดคันไฟ
ยาปฏิชีวนะ โดยเฉพาะกลุ่ม Bteta-lactam (penicillins,cephalosporins)
Immunologic machanisms ชนิด IgE-Independent
ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (NSAID)
Non-Immunologic machanisms
การกระตุ้น mast cell โดยตรง ยากลุ่ม Opioid
Idiopathic anaphylaxis
กรณีที่ประวัติและการตรวจเพิ่มเติมไม่บ่งบอกสาเหตุ
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิด
ปัจจัยร่วม
การออกกำลังกาย ติดเชื้อ เครียด
ยาที่ผู้ป่วยใช้
ยากลุ่มกลุ่ม Bteta-lactam,ACB-inhibitor,angotensin II receptor blocker ยากลุ่ม Opioid
โรคประจำตัว
โรคหัวใจ ทางเดินหายใจ หอบหืด
อายุ
ผู้ใหญ่จะรุนแรงมากกว่าเด็กและวัยรุ่น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การวัดระดับซีรั่มทริปเทส (serum total typtase)ซึ่งจะเพิ่มเร็วหลังเกิดปฏิกิริยา anaphylaxis
ตรวจเพื่อหาสารก่อภูมิแพ้
Skin pick test (SPT) / หรือ Intradernal test (IDT) ควรตรวจหลังเกิดอาการ 4-6 สัปดาห์
การตรวจเลือดเพื่อหา specific IgE antibody (slgE) กรณีสงสัยว่าแพ้แบบ lgE-mediated
การตรวจปฏิกิริยาภูมิแพ้โดยการกิน (Oral challenge test)
ความหมาย
เป็นปฏิกิริยาการแพ้อย่างรวดเร็วทั่วร่างกายและอาจมีความรุนแรงจนเป็นอันตรายต่อชีวิต
เกณฑ์วินิจฉัย
ต้องมีอาการ 1 ใน 3 ข้อ
2 มีอาการมากกว่าหรือเท่ากับ 2 ข้อดังนี้
2.1 มีอาการทางระบบผิวหนังหรือเยื่อบุ เช่น ผื่นลมพิษทั้งตัว คัน ผื่นแดง ปากลิ้นบวม
2.2 มีอาการทางระบบหายใจ เช่นคัดจมูก น้ำมูกไหล เสียงแหบ หอบเหนื่อย Wheezing เสียงเอี๊ยดตอนหายใจเข้า stridor ออกซิเจนในเลือดลดลง PEF ลดลง
2.3 ความดันโลหิตลดลงหรือมีระบบทำงานต่างๆล้มเหลว
2.4 มีอาการทางเดินอาหาร เช่น ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน
1 อาการที่เกิดขึ้นเฉียบพลันภายในเวลาเป็นนาทีหรือไม่กี่ชั่วโมง อย่างน้อย 1 อาการดังนี้
1.1 อาการทางเดินหายใจ เช่น คัดจมูก น้ำมูกไหล เสียงแหบ หอบเหนื่อย Wheezing เสียงเอี๊ยดตอนหายใจเข้า stridor ออกซิเจนในเลือดลดลง PEF ลดลง
1.2 ความดันลดลงการทำงานระบบต่างๆล้มเหลว เช่น เป็นลม อุจจาระปัสสาวะราด
3 ความดันลดลงหลังสัมผัสสารที่ผู้ป่วยทราบว่าแพ้มาก่อนเกิดอาการภายในเวลาเป็นนาทีหรือชั่วโมง