Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์สุขภาพ - Coggle Diagram
ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์สุขภาพ
อุปสงค์ (Demand)
ความต้องการซื้อ อำนาจการซื้อ
กฎของอุปสงค์ (Law of Demand)
อุปสงค์ต่อราคา (Price demand)
ราคาสินค้าสูงขึ้นความต้องการซื้อสินค้าลดลง ราคาสินค้าลดลงความต้องการซื้อสินค้าเพิ่มขึ้น
อุปสงค์ต่อรายได้ (Income demand) ปริมาณความต้องการซื้อเปลี่ยนแปลงไปตามระดับรายได้ของผู้บริโภค
อุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น (Cross demand)
ปัจจัยกำหนดอุปสงค์
สินค้าที่ใช้ทดแทนกันได้ (Substitute goods) เช่น โค้ก กับ เป๊ปซี่
สินค้าที่ใช้ประกอบกันได้ (Complementary goods) สินค้าที่ไปด้วยกัน เช่น รถยนต์ กับ น้ำมัน
สินค้าที่เป็นอิสระต่อกัน (Independent goods) สินค้าที่ไม่มีวามเกี่ยวข้องกันเลย
ราคาสินค้า (Price)
ระดับรายได้ (Income)
รสนิยมผู้ซื้อ (Tastes)
ราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง
ขนาดของประชากร
การคาดคะเนราคาสินค้าในอนาคต
กฎของอุปสงค์จากผลทางราคา (Price effect)
ผลทางรายได้
เงินเท่าเดิม ซื้อของได้มากขึ้น
ผลทางการทดแทน
ซื้อของราคาถูก แทนการซื้อของราคาแพง
อุปสงค์กับสาธารณสุข
Normative need ความจำเป็นที่ควรมี ประเมินโดยแพทย์
Felt need ความจำเป็นที่ตระหนัก ผู้บริโภครู้สึกว่าต้องมี
Express need ความจำเป็นที่แสดงออก
Comparative need ความจำเป็นเปรียบเทียบ
อุปสงค์ต่อสุขภาพ (Demand for health)
ความต้องการหรือความจำเป็นที่บริโภคแสดงออก
อุปสงค์ต่อการรักษาพยาบาล (Demand for health care)
ระดับการรักษาพยาบาลที่ผู้บริโภคได้รับ
อุปทาน (Supply)
สินค้า และบริการที่ผู้ผลิตยินดีเสนอขาย
อุปทาน (Supply)
อุปทานของหน่วยผลิต (Individual Supply) ความต้องการผลิตของผู้ผลิตในช่วงเวลาหนึ่ง
อุปทานตลาด (Market Supply) จำนวนสินค้าหรือบริการที่ผู้ผลิตต้องการขายในช่วงเวลาหนึ่ง
กฎของอุปทาน
ปริมาณสินค้าหรือบริการที่ผู้ผลิตต้องการขายแปรผันตามระดับราคาของสินค้าหรือบริการ
ราคาสินค้าสูงขึ้น ปริมาณการซื้อสินค้าจะสูงขึ้น
ราคาสินค้าลดลง ปริมาณการซื้อสินค้าจะลดลง
ปัจจัยกำหนดอุปทาน
ราคาสินค้าอื่นที่อาจผลิตได้
ราคาของปัจจัยการผลิต ต้นทุน
เทคโนโลยีการผลิต
จำนวนผู้ผลิต
สภาพอากาศ ฤดูกาล
นโยบายรัฐบาล
อุปทานกับงานสาธารณสุข
Intangibility บริการสุขภาพจับต้องไม่ได้
Inseparability การผลิตและการบริโภคเกิดขึ้นพร้อมกัน
Inventory บริการไม่สามารถสำรองหรือเก็บไว้ล่วงหน้าได้
อุปทานในการบริการทางการแพทย์ (Supply for health service)
จำนวนชั่วโมงในการให้บริการ
อุปทานในด้านการสาธารณสุข (Supply for public health)
บริการในโรงพยาบาล เช่น เตียง ยารักษา
ดุลยภาพของตลาด
การกำหนดราคาและปริมาณของสินค้าแต่ละชนิดในตลาด
กลไกราคา
ราคาจะปรับตัวเพื่อให้เกิดความสมดุล ระหว่างการเสนอขายและซื้อสินค้า
ตลาดและตลาดสุขภาพ
ตลาดประกันสุขภาพ
ตลาดการรักษาทางการแพทย์
ตลาดการให้บริการของโรงพยาบาล
ตลาดแรงงานทางการแพทย์
อุปทานส่วนเกิน (Excess supply)
ปริมาณเสนอขายมากกว่าปริมาณเสนอซื้อ
อุปสงค์ส่วนเกิน (Excess demand)
ปริมาณเสนอซื้อมากกว่าปริมาณเสนอขาย
ดุลยภาพของตลาด
เมื่อเกิดอุปทานส่วนเกิน ราคาสินค้าจะปรับตัวลดลง
เมื่อเกิดอุปสงค์ส่วนเกิน ราคาสินค้าจะปรับตัวสูงขึ้น