Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นางวาสนา (นามสมมติ) อายุ 31 ปี G4P3A0 GA39 wks with noANC with amphetamine…
นางวาสนา (นามสมมติ) อายุ 31 ปี G4P3A0 GA39 wks with noANC with amphetamine use with Hx asthma
การใช้สารเสพติดในสตรีมีครรภ์ (Drug addicted pregnancy)
สารเสพติดที่นิยมใช้ในปัจจุบันแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่
กลุ่มกระตุ้นการทำงานของระบบประสาท (central nervous system stimulants)
สารนิโคตินในบุหรี่
โคเคน (Cocaine)
ยาบ้า (amphetamines)
กลุ่มที่กดการทำงานของระบบประสาท (central nervous systemdepressants)
แอลกอฮอล์ (alcohol)
ฝืน (opioids)
กัญชา (marijuana)
เซโรอื่น (heroin)
มอร์ฟีน (morphine)
ปัจจัยส่งเสริม
ฐานะยากจน
อายุน้อย
มีปัญหาครอบครัว
ขาดความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการคุมกำเนิด ทำให้เกิดการตั้งครรภ์ขณะใช้สารเสพติดและพบว่าสตรีสูบบุหรี่และการดื่มสุรามีการใช้สารเสพติดมากขึ้น
การประเมินและการวินิจฉัย
1.การซักประวัติและการสังเกต
2.การตรวจร่างกาย พบร่องรอยของการใช้สารเสพติด
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบสารเสพติดในปัสสาวะ
ผลกระทบต่อกาวะสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์
ด้านร่างกาย
1.สตรีที่ใช้สารเสพติดมักมีฐานะยากจนทำให้สารอาหารไม่เพียงพอ และไม่มาฝากครรภ์หรือมาฝากครรภ์ไม่สม่ำเสมอ ทำให้ไม่ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงและไม่ได้รับการดูแลในระหว่างการตั้งครรภ์ที่เหมาะสม
เกิดการติดเชื้อจากการฉีดสารเสพติดเข้าทางหลอดเลือดดำโดยเฉพาะเชื้อ hepatitis B และ HIV
พบอุบัติการณ์ของการติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์สูงขึ้น
ได้รับผลกระทบจากฤทธิ์ของสารเสพติดที่ใช้ทำให้เกิดภาวะความดันโลหิตสูง หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ เกิดโรคหลอดเลือดในสมอง และเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวซึ่งอาจรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้
ด้านจิตสังคม
มีความทนต่อความเจ็บปวด
มองภาพลักษณ์ตนเองไม่ดี
มีสัมพันธภาพไม่ดีกับทารก
มีการปรับตัวต่อบทบาทการเป็นมารดาไม่เหมาะสม และไม่มีความพร้อมต่อการเลี้ยงดูบุตร
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของทารก
เกิดการแท้ง
คลอดก่อนกำหนด
อัตราการตายปริกำเนิดสูงขึ้น
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์/ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย
ทารกพิการแต่กำเนิด โดยเฉพาะมารดาที่เป็นโรคพิษสุราเรื้อรัง จะทำให้ทารกเกิดกลุ่มอาการที่เรียกว่า fetal alcohol syndrome (FAS) ซึ่งมีลักษณะตัวเล็ก ศีรษะเล็ก ปัญญาอ่อน แขนพิการ ตัวอ่อนปวกเปียก ดูดนมไม่ดี มีอาการชัก
ทารกที่เกิดขณะมารดาใช้สารเสพติดอาจมีอาการของภาวะขาดยา (neonatal abstinence syndrome) เช่น หัวใจเต้นเร็ว กระสับกระส่าย ร้องไห้ตลอดเวลา
แนวทางการดูแลรักษา
1.สืบค้นสตรีครรภ์ทุกรายที่ว่ามีการใช้สารเสพติดในขณะตั้งครรภ์หรือไม่
2.ตรวจคัดกรองความผิดปติและประเมินการเจริญเติบโดของทารกในครรภ์
3.ถ้าพบความพิการหรือความผิดปกติแต่กำเนิดของทารก พิจารณายุติการตั้งครรภ์
4.ถ้ามีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้น ให้การดูแลตามแนวทางการรักษาภาวะแทรกซ้อนนั้นๆ
5.การดูแลในระยะคลอด ควรประเมินสารเสพติดในปัสสาวะ และให้การดูแลเช่นเดียวกับสตรีมีครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูง ดูแลเรื่อง pain management อย่างเหมาะสม
6.การดูแลภายหลังคลอดช่วยเหลือ เรื่องการหยุดใช้ยาอย่างต่อเนื่อง และควรประเมินความสามารถในการดูแลทารก ถ้าไม่สามารถดูแลได้ต้องแยกทารกออกมา
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่ใช้สารเสพติด
เพื่อส่งเสริมการปรับตัวของสตรีมีครรภ์และครอบครัวและส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาทารก และครอบครัว
1.สร้างสัมพันธภาพกับหญิงตั้งครรภ์และครอบครัว ทำให้สตรีมีครรภ์รู้สึกไว้วางใจ
2.เปิดโอกาสให้สตรีมีครรภ์และครอบครัวพูดคุยระบายความรู้สึกและร่วมกันวางแผนเรื่องการดูแลทารกภายหลังคลอด
3.ให้การดูแลด้านจิตสังคมอย่างเหมาะสม ให้กำลังใจและส่งเสริมให้มองตนเองในด้านบวก
4.ส่งเสริมการปรับตัวและเป็นการเตรียมพร้อมสำหรับการดูแลตนเองในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอดโดยเฉพาะเรื่องการเลี้ยงดูบุตร
5.ติดตามเยี่ยมบ้านเพื่อประเมินภาวะสุขภาพของมารดาและทารกทั้งด้านร่างกายจิตใจ
เพื่อไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการใช้สารเสพติด
ระยะตั้งครรภ์
1.อธิบายผลกระทบที่อาจเกิดจากการใช้สารเสพติดในระยะตั้งครรภ์
2.ให้คำแนะนำและช่วยเหลือเรื่องการหยุดใช้สารเสพติด
3.ประเมินภาวะแทรกซ้อน
อธิบายให้เห็นความสำคัญของการมาฝากครรภ์ตามนัด
แนะนำเรื่องการรับประทานอาหารที่ครบถ้วน และรับประทานยาที่มีธาตุเหล็กอย่างสม่ำเสมอ
6.ปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสมเพื่อความปลอดภัยของมารดาและทารก
ระยะคลอด
1.ให้การดูแลเรื่องการบรรเทาความเจ็บปวดอย่างเหมาะสม
2.เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมสำหรับการคลอด
3.รายงานแพทย์เพื่อเตรียมดูแลทารกแรกเกิดซึ่งอาจมีอาการของภาวะขาดยา
ระยะหลังคลอด
1.ถ้าสตรียังคงมีการใช้สารเสพติดในระหว่างการตั้งครรภ์ อาจไม่สามารถเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
2.ก่อนกลับบ้านประเมินความสามารถในการดูแลทารกและแหล่งสนับสนุนช่วยเหลือ
3.อธิบายให้เห็นความสำคัญของการคุมกำเนิดและให้คุมกำเนิดทันทีหลังคลอด
4.สนับสนุนช่วยเหลือเรื่องการหยุดใช้สารเสพติดอย่างต่อเนื่อง
5.ถ้ามีภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ให้การพยาบาลตามภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น
ยาบ้า (amphetamines)
เมทแอมเฟตามีนเป็นอนุพันธ์ของสารแอมเฟตามีน โดยเป็นส่วนประกอบหลักของยาบ้าที่ใช้ในปัจจุบัน ออกฤทธิ์ โดยการกระตุ้นการหลั่ง catecholamine จาก sympathetic nerve terminal โดยเฉพาะ dopamine ใน mesolimbic, mesocortical และ nigrostriatal pathway ทำให้เกิดการ เพิ่มขึ้นของ intra-synaptic monoamine ส่งผลให้เกิดการ กระตุ้น central และ peripheral β- และ β-adrenergic postsynaptic receptor เพิ่มขึ้น
อาการที่พบหลังจากเสพสารเมทแอมเฟตามีนปริมาณสูง
ได้แก่ ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง หายใจเร็ว แน่นหน้าอก อาการทางทางเดินอาหาร ม่านตาขยาย เหงื่อออกมาก อุณหภูมิของร่างกายสูง รีเฟล็กซ์ไว เครียด กระสับกระส่าย สับสน และอาการทางจิต
ประวัติสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และครอบครัว
ประวัติความเจ็บป่วยของสมาชิกในครอบครัว
ปฏิเสธการเจ็บป่วยในครอบครัว
ประวัติการเจ็บป่วยและการผ่าตัดในอดีต
ประวัติเป็น asthma
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
ปฏิเสธการเจ็บปzวยในป}จจุบัน
ประวัติการแพ้ยา อาหารและสารเคมี
ปฏิเสธการแพ้ยา/แพ้อาหาร/แพ้สารเคมี
ประวัติการใช้สารเสพติด
มีประวัติใช้ Amphetamine มา5ปี ใช้ครั้งล่าสุด 1วันก่อนคลอด ไม่ทราบปริมาณและความถี่ที่ใช้
ประวัติทางสูติกรรม
ประวัติประจำเดือน
อายุที่มีประจำเดือนครั้งแรกคือตอนอายุ 12 ปี
มารอบละ5-7วัน
ไม่มีอาการไม่สุขสบายขณะมีประจำเดือน
ประวัติการวางแผนครอบครัว
ไม่มีการวางแผนครอบครัว
ประวัติการคุมกำเนิด
เคยมีประวัติใช้ยาคุมกำเนิดแบบฉีดมา 2 ปี
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต
ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบัน
G4P3A0
วันที่ฝากครรภ์ครั้งแรก วันที่ 7 มกราคม 2564 อายุครรภ์ 24 สัปดาห์
มารดาจำLMP ไม่ได้
ไม่ทราบวันกำหนดคลอด
ส่วนสูงของมารดา 150 cm น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 44.5 kg BMI เท่ากับ19.78 อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ยาที่ใช้ระหว่างการตั้งครรภ์
trifedine
CaCO3 1x1 oral pc
การตรวจเต้านม/หัวนม
ปกติ ไม่มีหัวนมสั้น บอด แบน บุïม
ปฏิเสธอาการและอาการแสดงที่ผิดปกติระหว่างการตั้งครรภ์
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ประวัติการได้รับ Tetanus Toxoid
ไม่ได้ฉีดวัคซีนในครรภ์นี้ เพราะได้รับครบ 3 เข็ม หรือเข็มกระตุ้นไม่เกิน 10 ปี
ข้อมูลการคลอด
1.อาการสำคัญที่นำมาโรงพยาบาล
เจ็บครรภ์คลอด 6 ชั่วโมงก่อนมาโรพยาบาล
รายงานการคลอด
สรุปปัญหาระยะคลอด
มารดาและทารกไม่มีปัญหาในระยะคลอด
อาการเปลี่ยนแปลงหลังคลอดและแผนการพยาบาล
มารดา
แรกรับมารดารู้สึกตัวดี สัญญาณชีพ BP = 134/89 mmHg PR = 92 bpm RR = 20 bpm BT = 37 องศาเซลเซียส
-มารดาหลังคลอดรู้สึกตัวดี ไม่มีคลื่นไส้อาเจียน หายใจไม่เหนื่อย สัญญาณชีพคงที่ น้ำคาวปลาสีแดงสด 2 pad ไม่ชุ่ม น้ำนมไหลได้ดี
ทารก
ทารกเพศชาย น้ำหนัก 3150 g Apgar score นาทีที่ 1 เท่ากับ 8 คะแนนนาทีที่ 5 ได้ 9 คะแนน
Vit K 1 mg วันที่ 4 เมษายน 2564 HBV 0.5 cc IM วันที่ 4 เมษายน 2564 แรกรับทารกหลังคลอด Active ดี หายใจไม่เหนื่อย งดดูดนมแม่
61122701 สีตีอาอีเสาะห์ สะอิ LR สิชล