Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการเรียนครั้งที่ 9 การออกแบบการเรียนรู้ - Coggle Diagram
สรุปการเรียนครั้งที่ 9
การออกแบบการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ความสําคัญของสภาพแวดล้อมการเรียนรู้
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้เป็นแหล่งทรัพยากรทางการเรียน
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้มีส่วนช่วยในการควบคุมชั้นเรียนให้ผู้เรียนมีระเบียบวินัย
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่ดีจะช่วยพัฒนาบุคลิกภาพของผู้เรียน
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เหมาะสมจะช่วยลดความเมื่อยล้า หรือความอ่อนเพลีย ทางด้านสรีระ
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ช่วยจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่พึงประสงค์ให้แก่ผู้เรียน
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้เสริมสร้างบรรยากาศในการเรียน
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้สนับสนุนการเรียนรู้หลายด้าน
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้เรียน
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้สนับสนุนและอํานวยความสะดวกในการเรียนการสอน สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เหมาะสม
แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการสร้างบรรยากาศที่ส่ง
เสริมการเรียนรู้
แนวคิดทางจิตวิทยา
ทฤษฎีความต้องการของมาสโลว์ (Maslow’s
needs theory)
ขั้นความต้องการความรัก (need for belonging and love)
ขั้นความต้องการได้รับการยอมรับจากผู้อื่น (need to know and understand)
ขั้นความต้องการความปลอดภัย (safety needs)
มนุษย์มีความต้องการพื้นฐานตามธรรมชาติเป็นลําดับขั้น
ขั้นความต้องการทางกาย (physiological needs)
และขั้นสูงสุดคือขั้นความต้องการที่จะพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างเต็มที่ (self-actualization needs)
ทฤษฎีคุณลักษณะของผู้เรียนที่มีต่อความสําเร็จและ ความล้มเหลวของไวน์เนอร์
ผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การเรียนสูงมีแนวโน้มที่จะเห็นว่าความสําเร็จมาจากความสามารถ ความล้มเหลวมาจากการขาดความพยายาม
การจูงใจ (motivation)
หมายถึง กระบวนการกระตุ้นความคิด ความรู้สึก ความพยายามด้วยวิธีการต่าง ๆ ให้บุคคลแสดงพฤติกรรมเพื่อไปสู่เป้าหมาย
ความสนใจ ความพอใจ ความอยากรู้อยากเห็น
ทฤษฎีการเรียนรู้สังคมของแบนดูรา
(Bandura’s social learning theory)
การให้คุณค่ากับเป้าหมายและความคาดหวังที่มีต่อความสําเร็จสูงเป็นปัจจัยที่สําคัญของการจูงใจในการทำงานและการเอาชนะอุปสรรคในการทํางาน
การสร้างบรรยากาศส่งเสริมการเรียนรู้
2.สิ่งแวดล้อมในการเรียน หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ล้อมรอบตัวผู้เรียน
การจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ
3.2.การจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ
3.3.รูปแบบการจัดห้องเรียนแบบปัจเจกบุคคล
การบริหารจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ
1.การจูงใจผู้เรียน (motivation) หมายถึง การกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความต้องการและความกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้
4.คุณลักษณะของครูครูที่ดีควรมีลักษณะ
มีทัศนคติที่ดีในการสอน
มีทักษะการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
บรรยากาศในการเรียนรู้หมายถึง สภาพแวดล้อมทางกายภาพ สังคม และจิตใจที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของบุคคล
การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (Learning Environment )ความหมายว่า สิ่งต่างๆ สภาวะแวดล้อมที่อยู่รอบๆ ตัวผู้เรียน ทั้งที่เป็นรูปและนามธรรม ส่งผลต่อผู้เรียนทั้งทางบวกและลบ และมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
การจัดการเรียนที่พัฒนาความคิด
กิจกรรมขบคิด เพื่อให้ผู้เรียนได้คิดทบทวนถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปอย่างรอบคอบ และวิเคราะห์จุดเด่นและจุดที่ควรพัฒนาให้ดีขึ้น
4.กิจกรรมคิดต่อยอด เป็นกิจกรรมที่มุ่งให้นักเรียน ทําสิ่งที่ได้จากกิจกรรมสะท้อนคิด มาใช้ประโยชน์ในรูปแบบอื่นที่หลากหลาย
กิจกรรมขบคิด เป็นกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนได้คิดจากการลงมือทํางาน โดยเน้นการคิดขั้นสูงที่หลากหลาย ผ่านกระบวนการคิดที่ซับซ้อน
5.กิจกรรมประเมิน เพื่อการพัฒนาการเรียนรู้การประเมินกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้มุ่งประเมินเพื่อดูพัฒนาการ ความสําเร็จของนักเรียนแต่ละคน
การจัดกิจกรรมพัฒนาการคิด เป็นกิจกรรมที่มุ่งกระตุ้นให้ผู้เรียนอยากที่จะเรียนรู้
ลักษณะการใช้คําถามที่ดี
4.ถามทีละคนและตอบทีละคน แต่ต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนตอบหลาย ๆ คน ในคําถามเดียวกัน
5.ถามแล้วไม่ทวนคําถาม และไม่ทวนคําตอบ
ถามแล้วต้องมีเวลารอคอย เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียน
ควรใช้คําถามง่ายและยากปนกันในการสอนครั้งหนึ่ง ๆ
ถามอย่างมั่นใจโดยใช้ภาษาชัดเจน กะทัดรัด
6.ควรใช้ท่าทาง เสียงประกอบการถามเพื่อกระตุ้นความสนใจ
เตรียมคําถามล่วงหน้า เพราะจะสามารถถามได้
อย่างเรียงลําดับตามความง่ายยาก ตามลําดับเนื้อหา
ควรใช้คําถามปูพื้น เมื่อตอบคําถามแรกไม่ได้
ควรเปิดโอกาสให้นักเรียนถามคําถามผู้สอน
ความหมายของการคิดวิเคราะห์เป็นการแยกแยะองค์ประกอบของเรื่องที่จะวิเคราะห์หรือสิ่งที่จะพิจารณาออกเป็นส่วนย่อยที่มี
ความสัมพันธ์กัน เพื่อทําความเข้าใจแต่ละส่วนให้แจ่มแจ้ง
การจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาความคิดสร้างสรรค์
ให้ความเข้าใจ เห็นใจและความรู้สึกของคนอื่น
เอาใจใส่ความคิดแปลกๆของคนด้วยใจเป็นกลาง
ยอมรับความสามารถและคุณค่าของคนอย่างไม่มีเงื่อนไข
เทคนิคการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
การแยกองค์ประกอบของความคิด
การค้นหาความคิดที่มีคนอื่นคิดเอาไว้
การสร้างแนวคิดใหม่โดยอาศัยแนวคิดเดิม
การนําสถานการณ์ต่างกันมาเชื่อมโยงให้เข้ากัน
การระดมสมอง
ส่งเสริมและกระตุ้นการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
อุปสรรคของความคิดสร้างสรรค์
อุปสรรคภายนอก หมายถึง ข้อจํากัดอันเกิดจากขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมและกฏเกณฑ์ของสังคมหรือสภาพแวดล้อมภายนอก
อุปสรรคภายใน หมายถึง นิสัยใจคอ ท่าทีและทัศนคติของคนแต่ละคน
การส่งเสริมให้ใช้จิตนาการตนเอง