Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อุปสงค์ อุปทาน และ ดุลยภาพการตลาด - Coggle Diagram
อุปสงค์ อุปทาน และ ดุลยภาพการตลาด
อุปทาน(SUPPLY)
ความหมายของอุปทาน คือปริมาณสินค้าและบริการที่ผู้ผลิตยินดีเสนอขาย ณ ระดับราคาต่างกัน
ประเภทของอุปทาน
อุปทานของหน่อยผลิต individual supply
คืออุปทานของจำนวนสินค้าหรือบริการของผู้ผลิตรายใดรายหนึ่งต้องการผลิตออกขายในช่วงเวลาหนึ่ง ณ ระดับต่าง ๆ ของราคาสินค้า
อุปทานตลาด Market supply
คืออุปทานของจำนวนสินค้าหรือบริการของผู้ผลิตทุกรายการในตลาดต้องการผลิตออกขายในช่วงเวลาหนึ่ง ณ ระดับต่าง ๆ ของราคาสินค้า
ปัจจัยกำหนดอุปทานตลาด
เทคโนโลยีการผลิต
จำนวนผู้ผลิต
ราคาของปัจจัยการผลิตหรือต้นทุน
สภาพดินฟ้าอากาศ
สภาพดินฟ้าอากาศสามารถส่งผลต่อปัจจัยการตลาดก็เพราะว่าเมื่อเกิดฝนตก ผู้คนก็ไม่สามารถออกมาซื้อของได้
ราคาของสินค้าอื่นที่อาจผลิตได้
นโยบายของรัฐบาล
กฎของอุปทาน Law of Supply
"ประมาณสินค้าและบริการที่ผู้ผลิตต้องการขายแปรผันตามระดับราคาของสินค้าหรือบริการชนิดนั้นเสมอ"
ถ้าราคาสินค้าสูงขึ้นปริมาณการซื้อสินค้าจะสูงขึ้น
ถ้าราคาสินค้าลดลงปริมาณการซื้อสินค้าจะลดลง
การเปลี่ยนแปลงในปริมาณอุปทานและการเปลี่ยนแปลงระดับอุปทาน
การเปลี่ยนแปลงในปริมาณอุปทาน
เป็นการเปลี่ยนแปลงราคาสินค้าจะทำให้ปริมาณเสนอขายเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน
การเปลี่ยนแปลงในระดับอุปทาน
เป็นการเปลี่ยนแปลงของปริมาณสินค้าที่ผู้ผลิตเต็มใจเสนอขายเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยอื่น ๆ จะทำให้เส้นอุปทานเลื่อนไปทั้งเส้น
ดุลยภาพของการตลาด
คือการกำหนดราคาและปริมาณของสินค้าแต่ละชนิดในตลาด
กลไกราคา คือการที่ราคาจะปรับตัวเพื่อให้เกิดคววามสมดุลระหว่างการเสนอซื้อและขายสินค้า
อุปทานส่วนเกิน excess supply ปริมาณเสนอขายมากกว่าปริมาณเสนอซื้อสินค้า
เมื่อเกิดอุปทานส่วนเกินขึ้น ราคาสินค้าจะปรับตัวลดลง
อุปสงค์ส่วนเกิน excess demand ปริมาณเสนอสินค้ามากกว่าปริมาณเสนอขาย
เมื่อเกิดอุปสงค์ส่วนเกินขึ้น ราคาสินค้าจะปรับตัวสูงขึ้น
อุปสงค์ (DEMAND)
ความต้องการ (Want)
อำนาจการซื้อ(Purchasing power)
อุปสงค์ที่ทรงประสิทธิผล(Effective Demand)
ความสามารถที่จะจ่ายได้
(Ability to pay)
อำนาจซื้อ
(Purchasing Power)
ความเต็มใจหรือยินดีที่จะซื้อ
(Willingness to pay)
กฏของอุปสงค์ (Law of Demand )
อุปสงค์ต่อรายได้ (Income Demand)
ปริมาณการซื้อจะเปลี่ยนแปลงไปตามรายได้ของผู้ปริโภค
ถ้ารายได้สูง ปริมาณการซื้อก็จะเพิ่มขึ้น
ถ้ารายได้ต่ำ ปริมาณการซื้อก็จะน้อยลง
อุปสงค์ต่อราคา( Price Demand)
คือ ราคาสินค้า แปรผกผันกับ ปริมาณการซื้อ
ถ้าราคาสินค้าเพิ่มขึ้น การซื้อก็จะน้อยลง
ถ้าราคาสินค้าต่ำลง การซื้อก็จะเพิ่มขึ้น
อุปสงค์ส่วนบุคคล (Individual Demand)
คือ ปริมาณสินค้า ของผู้บริโภคแต่ละคนในระดับราคาต่างๆ
อุปสงค์ตลาด(Market Demand)
คือ ปริมาณสินค้าที่ผู้ซื้อพอใจจะซื้อในราคานั้นๆ
อุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น (Cross Demand)
ความต้องการสินค้า ที่เกี่ยวข้องกับราคาสินค้าที่เกี่ยวข้อง
สินค้าที่ใช้ประกอบกันได้
(Complementary goods)
เป็นสินค้าที่ใช้ร่วมกับสินค้าอื่น เป็นสิ่งที่ขาดกันไม่ได้
สินค้าที่เป็นอิสระต่อกัน
(Independent goods)
เป็นสินค้าที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกันเลย ให้ประโยชน์คนละอย่างกัน ไม่เป็นการใช้ประกอบกัน หรือ ใช้แทนกัน
สินค้าที่ใช้ทดแทนกันได้
(Substitute goods)
สินค้าที่มีวัตถุประสงค์เดียวกัน และสามารถใช้ทดแทนกันได้
ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ตลาด
ขนาดของประชากร (Size of Population)
ราคาของสินค้า (Price)
การคาดคะเนราคาสินค้าในอนาคต
(Price Expectation)
ระดับรายได้ของผู้บริโภค (Income)
รสนิยมของผู้ซื้อ (Tastes)
ราคาสินค้าอื่นๆที่เกี่ยวข้อง (Relative Price)
อุปสงค์ และ อุปทาน กับงานสาธารณสุข
อุปสงค์กับงานสาธารณสุข
Felt need ความจำเป็นที่ควรตระหนัก เป็นความจำเป็นที่ผู้บริโภครู้สึกว่าต้องมี
Express need ความจำเป็นที่แสดงออก เป็นการปรับความจำเป็นเชิงตระหนักให้เป็นการกระทำ
Normative need ความจำเป็นที่ควรมี ซึ่งเป็นการประเมินโดยแพทย์
Comparative need ความจำเป็นเปรียบเทียบ กลุ่มประชากรเหมือนกันควรได้รับบริการที่เหมือนกัน
อุปสงค์ต่อสุขภาพ
(Demand for health)
เป็นความต้องการหรือความจำเป็นที่ผู้บริโภคแสดงออกเพื่อให้มีสุขภาพสมบรูณ์์ทั้งร่างกายและจิตใจ ณ ระดับราคาเงา
อุปสงค์ต่อการรักษาพยาบาล
(Demand for health care)
ระดับการรักษาพยาบาลที่ผู้บริโภคจะรับบริการ ณ ระดับราคาต่าง ๆ กัน
-ไม่ขึ้นอยู่กับเหตุผลทางเศรษฐกิจเสมอไป
-ผู้บริโภคแต่ละรายไม่ได้กำหนดปริมาณการบริโภคสินค้า
-ผู้บริโภคไม่ได้ซื้อสุขภาพเหมือนกับซื้อสินค้าในตลาด
-เนื่องจากสุขภาพเป็นเรื่องที่มีระยะเวลาเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย
ข้อเสียของอุปสงค์กับงานสาธารณสุข
เนื่องจากสุขภาพเป็นเรื่องที่มีระยะเวลาเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย
ผู้บริโภคแต่ละรายไม่ได้กำหนดปริมาณการบริโภคสินค้า
ผู้บริโภคไม่ได้ซื้อสุขภาพเหมือนกับสินค้าในตลาด
ไม่ขึ้นอยู่กับเหตุผลทางเศรษฐกิจเสมอไป
ปัจจัยกำหนดพฤติกรรมของผู้บริโภคในการซื้อบริการสุขภาพ
พันธุกรรม
ความรุนแรงของโรค
ราคาค่าบริการ
ฤดูกาล
ระดับรายได้
พื้นฐานการศึกษา
ปัจจัยด้านอายุ
เพศ
ด้านการแพทย์และสาธารณสุข
อุปทานในการบริการทางการแพทย์ (supply for health service)
หมายถึงจำนวนชั่วโมงที่ให้บริการเมื่อเทียบกับค่าตอบแทนที่บุคคลากรเหล่านี้พึงได้รับจากการให้บริการนั้น
อุปทานในด้านการบริการสาธารณสุข (supply for public health)
บริการในโรงพยาบาล เช่น จำนวนเตียง ชั่วโมงการให้บริการ และยารักษาโรค
ตลาดที่เกี่ยวกับการแพทย์
ตลาดการรักาาทางการแพทย์
ตลาดการให้บริการของโรงพยาบาล
ตลาดประกันสุขภาพ
ตลาดแรงงานทางการแพทย์