Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อุปสงค์ อุปทาน - Coggle Diagram
อุปสงค์ อุปทาน
อุปทาน (Supply)
อุปทานของหน่วยผลิต (Individual Supply)
อุปทานของจำนวนสินค้าหรือบริการของ ผู้ผลิตรายใดรายหนึ่งต้องการ
ผลิตออกขายในช่วงเวลา หนึ่ง
อุปทานตลาด (Market Supply)
อุปทานตลาด เป็นผลรวมของอุปทานหน่วยผลิต
ทุกรายในตลาด
อุปทานของจำนวนสินค้าหรือบริการของ ผู้ผลิตทุกรายในตลาดต้องการ
ผลิตออกขายในช่วงเวลาหนึ่ง
กฎของอุปทาน (Law of Supply)
ปริมาณสินค้าหรือบริการที่ผู้ผลิตต้องการขายแปรผันตามระดับราคาของสิ้นค้าหรือบริการชนิดนั้นเสมอ
้ถ้าราคาสินค้าลดลง
ปริมาณการซื้อสินค้าจะลดลง(PลดQเพิ่ม)
ถ้าราคาสินค้าสูงขึ้น
ปริมาณการซื้อสินค้าจะสูงขึ้น(Pเพิ่มQลด)
การเปลี่ยนแปลงในปริมาณอุปทาน และการเปลี่ยนแปลงระดับอุปทาน
การเปลี่ยนแปลงในปริมาณอุปทาน (Change in quantity supplied)
การเปลี่ยนแปลงราคาสินค้าจะทำให้ปริมาณเสนอขายเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน
การเปลี่ยนแปลงในระดับอุปทาน (Change in quantity supplied)
เป็นการเปลี่ยนแปลงของปริมาณสินค้าที่ผู้ผลิตเต็มใจเสนอขายเนื่องจากการ
เปลี่ยนแปลงของปัจจัยอื่นๆ
ปัจจัยกำหนดอุปทาน
ราคาของสินค้าอื่นที่อาจผลิตได้
ราคาของปัจจัยการผลิต (ต้นทุน)
จำนวนผู้ผลิต
เทคโนโลยีการผลิต
สภาพดินฟ้าอากาศ
นโยบายรัฐบาล
ดุลยภาพของตลาด(Market Equilibrium)
เมื่อเกิดอุปทานส่วนเกินขึ้น ราคาสินค้าจะปรับตัวลดลง
เมื่อเกิดอุปสงค์ส่วนเกินขึ้น ราคาสินค้าจะปรับตัวสูงขึ้น
อุปทานส่วนเกิน (Excess supply)
ปริมาณเสนอขายมากกว่าปริมาณเสนอซื้อสินค้า
อุปสงค์ส่วนเกิน (Excess demand)
ปริมาณเสนอซื้อสินค้ามากกว่าปริมาณเสนอขาย
กลไกราคา (Price mechanism)
ราคาจะปรับตัวเพื่อให้เกิดความสมดุล
ระหว่างการเสนอซื้อและเสนอขายสินค้า
อุปสงค์(Demand)
กฎของอุปสงค์(Law of Demand)
อุปสงค์ต่อราคา ( Price demand)
ถ้าราคาสินค้าสูงขึ้น
ปริมาณการซื้อสินค้าจะลดลง(Pเพิ่มQลด)
ถ้าราคาสินค้าลดลง
ปริมาณการซื้อสินค้าจะเพิ่มขึ้น(PลดQเพิ่ม)
อุปสงค์ต่อรายได้ (Income demand)
สินค้าปกติ (Normal goods)Yเพิ่มQลด
สิ้นค้าที่ความต้องการจะเพิ่มขึ้น หากมีรายได้เพิ่มขึ้น
สินค้าด้อย (Inferior goods)Pเพิ่มQลด
สิ้นค้าที่ความต้องการจะเพิ่มขึ้น หากมีรายได้ลด
ปัจจัยกำหนดอุปสงค์
สินค้าที่ใช้ประกอบกันได้ (Complementary goods)
เป็นสินค้่าที่ใช้คู่กันถ้ามีราคาของสิ้นค้าใดเพิ่มขึ้นจะมีผลต่อปริมาณการซื้อของสิ้นค้าอีกตัวลดลง
สินค้าที่เป็นอิสระต่อกัน (Independent goods)
เป็นสินค้าที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกันเลย และไม่สามารถใช้ทดแทนกันได้
สินค้าที่ใช้ทดแทนกันได้ (Substitute goods)
เป็นของที่สามารถใช้แทนกันได้โดยมีวัตถุประสงค์เดียวกันและมีความสามารถในการทำงานที่แทนกันได้
เปรียบเทียบปริมาณและราคาแล้วอันไหนถูกกว่าจะมี
ความต้องการมากกว่า
การเปลี่ยนแปลงในปริมาณอุปสงค์และการเปลี่ยนแปลงระดับอุปทาน
การเปลี่ยนแปลงในปริมาณของอุปสงค์(Change in quantity demanded)
เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมาจากสาเหตุการเปลี่ยนแปลงทางราคาสินค้า
การเปลี่ยนแปลงในระดับอุปสงค์(Change indemand)
เป็นการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์อื่นๆ ที่ไม่ใช่ราคา
กฎของอุปสงค์เกิดจากผลทางราคา (Price Effect)
ผลทางการทดแทน
จะให้ราคาเปรียบเทียบ (Relative Price) ของสินค้า
ชนิดนั้น เปลี่ยนแปลง
“ซื้อของถูก แทนของแพง”
ผลทางรายได้
ราคาเปลี่ยนแปลง จะส่งผลให้รายได้ที่แท้จริง (Real Income)
“เงินเท่าเดิม ซื้อของได้ มากขึ้น”
อุปสงค์กับงานสาธารณสุข และ อุปทานกับงานสาธารณสุข
อุปสงค์กับงานสาธารณสุข
Normative need ความจำเป็นที่ควรมี ซึ่งเป็นการประเมินโดยแพทย์
Felt need ความจำเป็นที่ตระหนัก เป็นความจำเป็นที่ผู้บริโภครู้สึกว่าต้องมี
Express need ความจำเป็นที่แสดงออก เป็นการปรับความจำเป็นเชิงตระหนักให้เป็นการกระทำ
Comparative need ความจำเป็นเปรียบเทียบ กลุ่มประชากรเหมือนกันควรได้รับบริการที่เหมือนกัน
อุปสงค์ต่อสุขภาพ (Demand for health)
อุปสงค์ต่อการรักษาพยาบาล (Demand for health care)
อุปทาน กับงานสาธารณสุข
อุปทานในการบริการทางการแพทย์ (Supply for
health services )
จำนวนชั่วโมงที่ให้บริการเมื่อเทียบกับค่าตอบแทนที่บุคคลากรเหล่านี้พึงได้รับจากการให้บริการนั้น
อุปทานในด้านการบริการสาธารณสุข (Supply for
public health)
บริการในโรงพยาบาล (จำนวนเตียง ชั่วโมงการ
ให้บริการ) ยารักษาโรค