Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 แนวทางการพัฒนาระบบ การประกันคุณภาพการศึกษา, Service - ไอที สไมล์…
บทที่3
แนวทางการพัฒนาระบบ
การประกันคุณภาพการศึกษา
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
องค์ประกอบ
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
การติดตามตรวจสอบเพื่อวบคุมคุมภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพ
แนวคิดและหลักการ
มุ่งพัฒนาการดำเนินงานตามความรับผิดชอบของตนให้มีคุณภาพดี
เน้นการพัฒนาอย่างต่อเนื่องไม่ใช่ทำเพื่อเตรียมรับการประเมินครั้งคราว
เป็นหน้าที่ของบุคลากรทุกคนที่ต้องปฏิบัติตามภารกิจ
เกิดจากความร่วมมือของบุคลากรทุกฝ่ายไม่สามารถว่าจ้างหรือขอให้บุคคลอื่นๆดำเนินการแทนให้
ยอมรับและนำผลการประเมินคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนา
หลักเกณฑ์และแนวดาเนิน
(2) การดำเนินงานของสถานศึกษา
กำหนดมาตรฐานการศึกษาการวางแผน
ดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพภายใน
ใช้ผลประเมินเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อเนื่อง
(3) การดำเนินงานประเมินคุณภาพการศึกษา(หน่วยงานต้นสังกัด)
ปรับเปลี่ยนบทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพการศึกษาการปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์ในการประเมินภายในและ การประเมินภายนอก
1) เน้นให้ความสาคัญของการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
2) การให้ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาอย่างตรงประเด็น
ปรับปรุงมาตรฐานผู้ประเมิน
พัฒนาความรู้ความเข้าใจมีทักษะและมีความเชี่ยวชาญการเก็บรวบรวมข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูลและตัดสินผลการประเมินตามแนวคิดการประเมินเพื่อพัฒนา
พัฒนาผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาทั้งภายในสถานศึกษาและผู้ประเมินภายนอกด้านทักษะความสามารถและทัศนคติที่เหมาะสมต่อการประเมิน
1.ปรับเปลี่ยนแนวคิดการประเมินคุณภาพการศึกษา
1) แนวคิดการประเมินแบบองค์รวม(Holistic Assessment)
2) ระบบการประเมินภายนอกเน้นอิงแนวคิดการประเมินเพื่อพัฒนาซึ่งกระบวนการประเมินทั้งสองแนวคิดต้องอาศัยร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์
(1) ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานด้านการจัดการเรียนการสอน
มาตรฐานด้านคุณภาพของผู้เรียน
ระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา(Internal Quality Assurance : IQA)
1.กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
กำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะคุณภาพที่พึงประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษา
สำหรับการส่งเสริมกำกับดูแลตรวจสอบและประเมินผล
2.พัฒนาเข้าสู่มาตรฐาน
เป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าสถานศึกษาจะดำเนินการตามข้อตกลงที่กำหนดร่วมกันอย่างสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มีการดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยการกำกับติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
3.จัดทารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report : SAR)
เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดเพื่อเตรียมการรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกต่อไป
เป็นการนำข้อมูลผลการประเมินตามมาตรฐานของสถานศึกษาจากการติดตามตรวจสอบและประเมินผลมาจัดทำเป็นรายงานการประเมินตนเองเพื่อสะท้อนภาพความสำเร็จ
การประเมินคุณภาพภายนอก(External Quality Assessment : EQA)
ประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
เยี่ยมชมสถานศึกษา(Site Visit)
ติดตามและตรวจสอบ
วิเคราะห์SAR
รายงานผลการประเมินภายนอก
สรุปผลการประเมินตรวจสอบคุณภาพและจัดทำรายงานนาส่งผลการประเมินพร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้องให้หน่วยงานต้นสังกัดที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนา 3 ประเด็น
มาตรฐานของสถานศึกษา(Internal Correction)
การปรับปรุงประเด็นต่างๆให้ดีขึ้น(Improvement)
การพัฒนานวัตกรรมจากประเด็นต่างๆ(Innovation)
แนวทางการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
กระบวนการดำเนินการประกันคุณภาพ
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพภายใน
ระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
การเปิดโอกาสการมีส่วนร่วม
ในการทางาน(Participation)
ทุกหน่วยงาน มีส่วนร่วมในการพัฒนาผู้เรียน
การแสดงภาระรับผิดชอบ
ที่ตรวจสอบได้ (Accountability)
ผู้เรียนผู้ปกครองและชุมชนต้องได้รับรู้เพื่อการพัฒนาร่วมกันและเพื่อการติดตามตรวจสอบการดาเนินงานของสถานศึกษา
การกระจายอำนาจ
(Decentralization)
สถานศึกษามีอิสระในการตัดสินใจในการบรืหาร
มีความคล่องตัวในการบริหาร
การจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษาพ.ศ.2561
การดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
โดยใช้แนวคิดทฤษฎีหรือผลงานวิจัยที่เน้นความร่วมมือของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
สถานศึกษา
ดำเนินการทั้งปีขึ้นอยู่กับการตกลงภายในสถานศึกษา
การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา(แผนกลยุทธ์3-5ปี)
แผนระยะยาว
แผนปฏิบัติการประจาปี(Action Plan/Operation Plan)
แผนระยะสั้น
ติดตามผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ต้นสังกัด
ตรวจสอบอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุกปี
สมศ. ดำเนินการ 5 ปี 1 ครั้ง
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะคุณภาพที่พึงประสงค์
เน้นที่คุณภาพผู้เรียน
การทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน