การประเมินคุภายนอกแนวใหม่รอบสี่

วิสัยทัศน์ เชื่อมโยง สู่การประเมิน

เรียบง่ายด้วยใจ SIMPLE

พอเพีกับความต้องการ SUFFICIENT

ลดงานด้วยเทคโนโลยี FLIP

ยืดหยุ่นทุกคน FLEXIBLE

เชื่อมโยงทุกอย่าง CONNECTIVE

ร่วมมือสู่มาตรฐานการศึกษา COLLABORATIVE

เป็นสุขลักยั่งยืน SUSTAINABLY HAPPY

พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542

มาตรา 49 ตาม พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 กาหนดให้ สานักงานมีฐานะเป็นองค์การมหาชนทำหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมิน คุณภาพภายนอกและทาการประเมินผลการจัดการศึกษาให้มีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา โดยคำนึงถึงความมุ่งหมายและหลักการ และแนวการจัดการศึกษาในแต่ละระดับ
ให้มีการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแห่งอย่าง น้อยหน่ึงคร้ังในทุกห้าปีนับต้ังแต่การประเมินคร้ังสุดท้าย และเสนอผลการ ประเมินต่อหน่วยงานที่เก่ียวข้องและสาธารณชน

อานาจหน้าที่

1) พัฒนาระบบการประเมินคุณภาพภายนอก กำหนดกรอบ แนวทาง และวิธีการประเมินคุณภาพภายนอกท่ีมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับระบบการประกันคุณภาพของสถานศึกษาและ หน่วยงานต้นสังกัด

2) พัฒนามาตรฐานและเกณฑ์สาหรับการประเมินคุณภาพภายนอก

3) ให้การรับรองผู้ประเมินภายนอก

4) กำกับดูแลและกำหนดมาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกที่ ดำเนินการโดยผู้ประเมินภายนอก รวมทั้งให้การรับรองมาตรฐาน

5) พัฒนาและฝึกอบรมผู้ประเมินภายนอก จัดทำหลักสูตรการฝึกอบรม และสนับสนุนให้องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพหรือวิชาการ เข้ามามี ส่วนร่วมในการฝึกอบรมผู้ประเมินภายนอกอย่างมีประสิทธิภาพ

6) เสนอรายงานการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาประจำปีต่อคณะรัฐมนตรี ที่มีหน้าท่ีควบคุมกำกับหน่วยงานท่ีมีหน้าท่ีจัดการศึกษา และสำนักงบประมาณ เพื่อประกอบการพิจารณาในการกำหนดนโยบายทางการศึกษา และการจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษา รวมท้ังเผยแพร่ รายงานดังกล่าวต่อหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องและสาธารณชน

จุดเปลี่ยนการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสี่

ลดภาระเอกสาร

เพิ่มเทคโนโลย

ประเมิน เพื่อ ‘พัฒนา’ ไม่ใช่การประเมินเพื่อรับรองว่าผ่านหรือไม่ผ่าน

การวิเคราะห์โดย 3P

สองระยะ - ระยะประเมิน โดย สมศ. - ระยะติดตามเพื่อพัฒนา โดยต้นสังกัด

HOLISTIC APPROACH

EXPERT JUDGEMENT

การประเมินเชิงคุณภาพ

ลดจานวนการประเมิน (1 IQA + 1 EQA)

เชื่อมโยง สอดคล้องประกันคณุ ภาพภายใน

เป้าหมายการประเมิน

ระยะ 1

ประเมินเพื่อพัฒนา คุณภาพ การจัดการศึกษา ของสถานศึกษา

ระยะ 2

ติดตามเพื่อพัฒนา โดยจัดสรรงบประมาณ

เพื่อ
ยกระดับคุณภาพ การจัดการศึกษา ของสถานศึกษา

ประเมินโดย สมศ. การประเมินคุณภาพภายนอกแนวใหม่ รอบสี่ ประเมินระดับสถานศึกษา (Institution) ไม่มีการ “รับรอง” หรือ “ไม่รับรอง” สถานศึกษา
แต่เป็นการประเมินเพื่อพัฒนา

คณะผู้ประเมินภายนอก สมศ ประกอบด้วย

ผู้ทรงคุณวุฒิจาก สมศ

ผู้แทนจาก หน่วยงานต้นสังกัด

ผู้มีประสบการณ์ ด้านการบริหาร

หลักเกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพของการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่

ดีเยี่ยม หมายถึง เหมาะสม เป็นไปได้ น่าเชื่อถือ ต่อเนื่อง เป็นต้นแบบ

ดีมาก
หมายถึง เหมาะสม เป็นไปได้ น่าเชื่อถือ ต่อเนื่อง

ดี หมายถึง เหมาะสม เป็นไปได้ น่าเชื่อถือ

พอใช้ หมายถึง เหมาะสม เป็นไปได้ น่าเชื่อถือ ไม่ครบบางประเด็น

ปรับปรุง หมายถึง ไม่สามารถดำเนินการได้เป็นส่วนใหญ

บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานต้นสังกัด สนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานต้นสังกัด การติดตามและพัฒนาจากผลการประเมินสรุปการพัฒนา เป็น 3 รูปแบบ โดยหลัก 3i ดังนี้ 1. การแก้ไขประเด็นต่างๆ ที่ไม่เป็นไปตามนโยบาย และมาตรฐาน (Internal Correction) 2. การปรับปรุงประเด็นต่างๆ ให้ดีขึ้น (Improvement) 3. การพัฒนานวัตกรรมจากประเด็นต่างๆ (Innovation)

ข้อมูลประกอบการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ผลประเมินตนเองของสถานศึกษา

ผลการประเมินคุณภาพภายนอก สมศ

ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินในการปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษาทั้งระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่ และระดับนโยบาย

วัตถุประสงค์

  1. ส่งเสริมให้สถานศึกษามีความรู้ความเข้าใจในแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอกและสร้างผู้เชี่ยวชาญด้านการประเมินคุณภาพภายนอก

2.ประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อสะท้อนคุณภาพการจัดการศึกษาพร้อมทั้งรายงานสถานการณ์ด้านคุณภาพการศึกษาเพื่อให้ข้อมูลแก่รัฐบาลในการพิจารณากำหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ

นายนนทวรรษ อุปยโส รหัส 60104010179 คณะพลศึกษา สาขาพลศึกษา