Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วัยก่อนคลอด, อ้างอิง …
วัยก่อนคลอด
The period of embryo
ระยะที่ 2 ระยะตัวอ่อน
ความสำคัญ
โดยการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายระยะ 6 สัปดาห์
จากเซลล์จะเปลี่ยนรูปร่างเป็นคนโดยย่อ
ซึ่งนอร์รอส (Norris,1960) กล่าวว่าระยะที่ 3 เดือนแรกสำคัญมากที่สุดสำหรับชีวิตมนุษย์
หากการพัฒนาไม่เป็นไปตามลำดับขั้น
จะทำให้ทารกแท้งหรือคลอดก่อนกำหนด หรือพิการได้
ความผิดปกติภายในครรภ์เมื่อมารดาได้รับความกระทบกระเทือนทางจิดใต ติดเชื้อ หรือขาดการบำรุง จะส่งผลต่อทารกอาจเกิดการแท้งหรือคลอดก่อนกำหนด หรือพิการ
กลุ่มเซลล์ชั้นใน
Mesoderm
กล้ามเนื้อ หัวใจ หลอดเลือด กระดูกลำตัว และอื่นๆ
Endoderm
ระบบย่อยอาหาร ปอด ตับ ไต และอื่นๆ
Ectoderm
ผิวหนัง ผม ขนน เล็บ และอื่นๆ
กลุ่มเซลล์ชั้นนอก
กลายเป็นรก สายรกถุงน้ำคล้ำ
การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับตัว
ด้านจิตใจและอารณ์ของมารดา
กระตุ้นให้มารดาได้ระบายความรู้สึก ความคิด
และความวิตกกังวลจากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น พร้อมกับรับฟัง
ส่งเสริมให้มีทัศนะคติที่ดีต่อการมีบุตรให้บิดาและมารดา
ขณะตั้งครรภ์ให้มากขึ้นกว่าปกติ
แนะนำการดูแลรักษาสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง ให้ความรู้ด้านโภชนาการของมารดา นอนหลับให้เพียงพอ ออกกำลังกายให้เหมาะสม
ด้านสังคมของมารดา
แนะนำให้มารดาขณะตั้งครรภ์พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้อื่นที่เคยตั้งครรถ์มาก่อนให้คำแนะนำเกี่ยวกับแหล่งบิการ
สุขภาพร่างกายของมารดา
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่เป็นอันตรายและสารเสพติดต่างๆ
The period of ovum
ระยะที่ 1 ระยะไข่
ปฏิสนธิ Ovum + Spermatozoa
กลายเป็น ไซโกต
แบ่งตัวภายในเซลล์
กลุ่มเซลล์ชั้นนอก
มีการเคลื่อนไหวอย่างอิสระในมดลูก รับสารอาหารจากไข่แดง
ทำหน้าที่ป้องกันการกระทบกระเทือนและรับสารอาหารจากมารดา
กลุ่มเซลล์ชั้นใน
ทารก
การฝังตัว
ฝังตัวที่ผนัังมดลูกเรียกเซลล์ผสมในระยะนี้ว่า Blastocyst
หลังไข่ถูกผสมประมาณ 10 วัน
The period of fetus
ระยะที่ 3 ชีวิตใหม่
พัฒนาการแต่ละช่วงวัย
เดือนที่ 7 (28-32 สัปดาห์)
ระบบการทำงานของร่างกายทารกสมบูรณ์
(ถ้าคลอดระยะนี้โอกาสรอดขึ้นอยู่กับการดูแล ติดเชื้อง่าย)
เดือนที่ 8 (32-36 สัปดาห์)
สมบูรณ์ทั้งร่างกายและระบบต่างๆ ผิวจางและย่น
(ถ้าคลอดระยะนี้ รอ 94% )
เดือนที่ 6 (24-28 สัปดาห์)
เปิด-ปิดลูกตาได้มีการตอบสนองต่อแสงสว่าง ปุ่มรับรสลิ้น
(ถ้าคลอดระยะนี้จะตายในไม่กี่ชั่วโมง)
เดือนที่ 9 (36-40 สัปดาห์)
ทารกสมบูรณ์ ผิวสีชมพู ไม่เหี่ยวย่น
คลอดตามกำหนด
เดือนที่ 5 (20-24 สัปดาห์)
ไขมันจับตามร่างกาย เล็บมือเล็บเท้า หลับและตื่น
เดือนที่ 3 (12-16 สัปดาห์)
รกทำงาน อวัยวะเพศปรากฎชัดเจนหัวใจทำงาน
พัฒนาการทางด้านอารมณ์
ทฤษฎี Sigmund Freud
ขั้นที่ 5 ขั้นสนใจเพศตรงข้าม
มีแรงจูงใจที่จะรักผู้อื่น
เห็นแก่ตัวลดลง
โดยมีการเปลี่ยนแปลงของหญิงตั้งครรภ์
มี 3 ไตรมาส
ไตรมาสที่ 2
ช่วงเดือนที่ 4-6 ของตั้งครรภ์
จะมีอารมณ์ผ่อนคลายมากขึ้น
ไตรมาสที่ 3
ช่วงเดือนที่ 7-9 ของการตั้งครรภ์
คือ คุณแม่เริ่มมีความกังวลเกี่ยวกับการคลอดที่จะมาถึงในเรื่องต่างๆ อาจก่อให้เกิดความเครียดได้
ไตรมาสที่ 1
ช่วงเดือนที่ 1-3 ของการตั้งครรภ์
จะมีระดับฮอร์โมนเพิ่มขึ้นส่งผลกระทบ
ต่อสุขภาพจิตใจเป็นอย่างสูงมาก
พัฒนาการทางด้านจริยธรรม
ของมารดา
ทฤษฎี Lawence Kohlberg
สามารถควบคุมบังคับใจตนเองได้
คำนึงถึงความถูกต้องยุติธรรม
เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
ให้คุณค่าของความเป็นมนุษย์
แสดงพฤติกรรมเพื่อทำตามมาตรฐานของสังคม
ละอายและเกรงกลัวต่อบาป
พัฒนาการทางด้านสังคมของมารดา
ทฤษฎี Erik H. Erikson
ขั้นที่ 5 ขั้นสนใจเพศตรงข้าม
มีแรงจูงใจที่จะรักผู้อื่น เห็นแก่ตัวลดลง
ด้านบวก
หากสามารถบรรลุอัตลักษณ์ของตนเองจะสามารถสร้างและเปลี่ยนความสัมพัธ์อย่างสนิทสนมกับบุคคลอื่นได้
ด้านลบ
ไม่ประสบความสำเร็จในการแสวงหาแนวทาง จะไมสามารถสร้างความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นๆได้ จะรู้สึกเหงาเปล่าเปลี่ยวไม่รู้จะพึ่งใคร
อ้างอิง
จิตวิทยาพัฒนาการของวัยก่อนคลอด.(2543).
วัยก่อนคลอด
. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2564 จาก
https://www.baanjomyut.com
ธนิษฐา ศิริรักษ์.(ม.ป.ป.).
การดูแลสุขภาพตามวัย
สืบค้นเมื่อ7พฤษภาคม2564. จาก
https://meded.psu.ac.th/https://meded.psu.ac.th