Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อุปสงค์ อุปทาน และดุลยภาพการตลาด - Coggle Diagram
อุปสงค์ อุปทาน และดุลยภาพการตลาด
อุปสงค์(Demand)
ความต้องการ (Want)
อำนาจการซื้อ(Pyrchasing power)
อุปสงค์หรือความต้องการซื้อที่จะมีผลอย่างแท้จริง เรียกว่าอุปสงค์ที่ทรงประสิทธิภาพ (Effective Demand)
ความสามารถที่จะจ่าย(Ability to pay)
อำนาจซื้อ (Purchasing Power
ความเต็มใจหรือยินดีที่จะซื้อ (Willingness to pay)
กฏ Law of Demand
ปริมาณสินค้าหรือบริการที่ผู้บริโภคต้องการซื้อย่อมผันแปรผกผันกับราคาของสินค้าหรือบริการชนิดนั้นเสมอ
อุปสงค์ต่อรายได้ (Income demand)
ปริมาณเสนอซื้อของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปตามระดับรายได้ของผู้บริโภค
สินค้าปกติ (Normal goods)
สินค้าที่ความต้องการจะเพิ่มขึ้น หากมีรายได้เพิ่มขึ้น
สินค้าด้อย(Inferior goods)
สินค้าที่ความต้องการจะเพิ่มขึ้น หากมีรายได้ลด
อุปสงค์ต่อราคา (Price Demand)
ถ้าราคาสินค้าสูงขึ้น ปริมาณซื้อสินค้าลดลง
ถ้าปริมาณสินค้าลดลง ปริมาณซื้อสินค้าจะเพิ่มขึ้น
ปัจจัยกำหนด
สินค้าที่ใช้ประกอบกันได้ (Complementary goods)
สินค้าที่ต้องใช้ร่วมกับสินค้าอื่น เมื่อสินค้าหนึ่งเพิ่มขึ้นหรือลดลงจะมีผลทำให้ปริมาณการซื้อสินค้าอีกชนิดหนึ่ง
สินค้าที่เป็นอิสระต่อกัน (Independent goods)
เป็นสินค้าที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกันเลย
สินค้าที่ใช้ทดแทนกันได้ (Substitute goods)
สินค้าที่ใช้แทนกันด้วยวัตถุประสงค์เดียวกันและความสามารถใช้แทนกันได้
Size of Population
Relative
Price
Price Expepectation
Income
Tastes
อุปทาน(Supply)
อุปทานของหน่วยผลิต(Individual Supply)
อุปทานของจำนวนสินค้าหรือบริการของผู้ผลิตรายใดรายหนึ่งต้องการผลิตออกขายในช่วงเวลา หนึ่ง ณ ระดับต่างๆของราคาสินค้า
อุปทานตลาด (Market Supply)
อุปทานของจำนวนสินค้าหรือบริการของของผู้ผลิตทุกรายในตลาดต้องการผลิตออกขายในช่วงเวลา
กฎ Law of Supply
ปริมาณสินค้าหรือบริการที่ผู้ผลิตต้องการขายแปรผันตามระดับราคาของสินค้าหรือบริการชนิดนั้นเสมอ
ราคาสินค้าสูงขึ้น ปริมาณการซื้อสินค้าจะสูงขึ้น
ราคาสินค้าลดลง ปริมาณการซื้อสินค้าจะลดลง
การเปลี่ยนแปลงในปริมาณอุปทาน (Change in quantity suppleid)
การเปลี่ยนแปลงของปริมาณสินค้าที่ผู้ผลิตเต็มใจเสนอขายเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยอื่นๆ จะทำให้เส้นอุปทานเลื่อนไปทั้งเส้น
การเปลี่ยนแปลงราคาสินค้าจะทำให้ปริมาณเสนอขายเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน
การเปลี่ยนแปลงราคาสินค้าจะทำให้ปริมาณเสนอขายเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน
ปัจจัยกำหนด
เทคโนโลยีการผลิต
จำนวนผู้ผลิต
ราคาของปัจจัยการผลิต (ต้นทุน)
สภาพดินฟ้าอากาศ
ราคาของสินค้าอื่นที่อาจผลิตได้
นโยบายรัฐบาล
ดุลยภาพของตลาด
การกำหนดราคาและปริมาณของสินค้าแต่ละชนิดในตลาด
กลไลราคา ราคาจะปรับเพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างการเสนอซื้อและเสนอขายสินค้า
เมื่อเกิดอุปทานส่วนเกินขึ้น ราคาสินค้าจะปรับตัวลดลง
เมื่อเกิดอุปสงค์ส่วนเกินขึ้น ราคาสินค้าจะปรับตัวลดลง
งานสาธารณสุข
อุปสงค์กับงานสาธาณสุข
ความจำเป็นโดยอาศัยหลักอุปสงค์
Felt need
ความจำเป็นที่ตระหนัก เป็นความจำเป็นที่ผู้บริโภครู้สึกว่าต้องมี
Express need
ความจำเป็นที่แสดงออก เป็นการปรับความจำเป็นเชิงตระหนักให้เป็นการกระทำ
Normative need
ความจำเป็นที่ควรมี ซึ่งเป็นการประเมินโดยแพทย์
Comparative need
ความจำเป็นเปรียบเทียบ
อุปสงค์ต่อสุขภาพ (Demand for health)
อุปสงค์ต่อการรักษาพยาบาล ( Demand for health care)
อุปทานกับงานสาธารณสุข
เป็นบริการที่ผู้ผลิตยินดีที่จะเสนอให้กับผู้บริโภค ณ ระดับราคาต่างๆกันไป
ลักษณะพิเศษของการบริการสุขภาพ
การผลิตและการบริโภคเกิดขึ้นพร้อมกัน (Inseparability)
บริการสุขภาพไม่สามารถทำสำรองหรือเก็บไว้ล่วงหน้าได้ (Inventory)
บริการสุขภาพจับต้องได้ไม่ได้ (Intangibility)
อุปทานในด้านการบริการสาธารณสุข (Supply for public health)
อุปทานในการบริการทางการแพทย์ (Supply for health services)
ตลาดและตลาดสุขภาพ
ตลาดการรักษาทางการแพทย์
ตลาดการให้บริการของโรงพยาบาล
ตลาดประกันสุขภาพ
ตลาดแรงงานทางการแพทย์