Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปบทที่ 11 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา ทางระบบประสาท (2 ), นางสาวคีตภัทร…
สรุปบทที่ 11 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา
ทางระบบประสาท (2 )
โรคสมองพิการ
(Cerebral Palsy)
คือ
ความพกพร่องของสมองส่วนที่
ควบคุมกล้ามเนื้อ
สาเหตุ
ก่อนคลอด
เลือดออกทางช่องคลอดของมารดาช่วงตั้งครรภ์เดือนที่6-9
มารดาขาดสารอาหาร มีประวัติชัก/ปัญญาอ่อน
เด็กคลอดก่อนกำหนด นน.ตัวน้อย
มารดาได้รับอุบัติเหตุ/ใช้ยาที่มีผลต่อสมองเด็ก
ระยะคลอด
สมองขาดO2 ได้รับอันตายขากการคลอด รกพันคอ คลอดท่าก้น ใช้คีมดึงเด็ก
หลังคลอด
ได้รับการกระทบกระเทือนที่ศรีษะ ตัวเหลืองตอนคลอด เส้นเลือดในสมองผิดปกติ
จมน้ำ ติดเชื้อบริเวณสมอง
อาการและอาการแสดง
กลุ่มเกร็ง
มีกล้ามเนื้อเกร็งเคลื่อนไหวได้ช้า ทำให้ควบคุมกล้ามเนื้อ คอ ลำตัว และแขน ขาไม่ได้
กลุ่มเคลื่อนไหวผิดปกติ
คุมให้อยู่นิ่งไม่ได้ คอบิด แขนงอ กระตุกอย่างรวดเร็ว
การรักษา
ให้ยาคลายกล้ามเนื้อ
เช่น
diazepam,baclofen
การแก้ไขความผิดปกติ
การรับรู้ที่สำคัญ,ระบบประสาทส่วนอื่น
ทำกายภาพบำบัดของกล้ามเนื้อแขน ขา ลำตัว
ให้ early stimulation ป้องกันการเสียหายของสมอง
ให้คำแนะนำผู้ปกครองในการดูแลเด็ก
ภาวะน้ำคั่งในโพรงสมอง
(Hydrocephalus)
คือ
มีการคั่งของน้ำไขสันหลังในกะโหลกศีรษะบริเวณ ventricleของสมองและsubarachnoid space มากกว่าปกติ
ส่งผลให้
ความดันภายในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น
สาเหตุ
การสร้างหรือการผลิตน้ำไขสันหลังมากผิดปกติ
ความผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสันหลัง
การอุดกั้นการไหลเวียนของน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง
อาการและอาการแสดง
ศรีษะโต
เด็กเล็กที่กระหม่อมยังไม่เปิดพบว่ากระหม่อมหน้าโป่งตึงกว่าปกติ
หนังศีรษะบางและเห็นหลอดเลือดดำที่บริเวณใบหน้าหรือศรีษะโป่งตึงเห็นชัดมากกว่าปกติ
เสียงเคาะกะโหลกเหมือนหม้อแตก
มีอาการแสดงของความดันในกะโหลกศีรษะสูง
ตาทั้ง 2 ข้างกรอกลงข้างล่าง ตาพร่ามัว เห็นภาพซ้อน
รีเฟลกซ์ และ tone ของขา2 ข้าง ไวกว่าปกติ
พัฒนาการทั่วไปช้า
การวินิจฉัย
ตรวจด้วยการส่องไฟฉาย
Ventriculography ,CT scan
Ultrasound,Head Circumference
การรักษา
ผ่าตัดรักษาสาเหตุ
ผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินน้ำไขสันหลัง / V-P Shunt
การให้ Diamox ลดการสร้างน้ำไขสันหลัง
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
ประเมินอาการความดันในกระโหลกศีรษะสูง
จัดท่านอนให้มีความเหมาะสม
หลังผ่าตัด
จัดท่านอนเพื่อป้องกันการกดทับลิ้นของท่อทางเดินน้ำไขสันหลัง
สังเกตและบันทึกอาการและอาการแสดงของภาวะแทรกซ้อนหลังทำผ่าตัด
วัดและบันทึกสัญญาณชีพและประเมินอาการทางระบบประสาท
ดูแลรักษาความสะอาดบริเวณแผลผ่าตัด ตามแผนการรักษา
พลิกตะแคงตัวและเปลี่ยนท่านอนบ่อยๆ เพื่อป้องกันการเกิดภาวะปอดอักเสบ
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะอย่างถูกต้อง
Spina Bifida
คือ
ความผิดปกติของท่อระบบปรพสาทที่เจริญไม่สมบูรณ์ทำให้รอยต่อของกระดูกสันหลังไม่เชื่อมติดกัน
สาเหตุ
ไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริง
อาจเกิดจาก
มารดาติดเชื้อไวรัสตั้งแต่ตั้งครรภ์ < 3 เดือน
ภาวะทุพโภชนการ
มารดาอายุมาก/น้อยไป
การวินิจฉัย
มารดา
มีประวัติติดเชื้อขณะตั้งครรภ์
พบ Alphafetoprotienในน้ำคร่ำสูง
ทารก
ตรวจร่างกายพบความผิดปกติ
การรักษา
ผ่าตัดเย็บปิดถุงที่ยื่นออกมา
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
ดูแลและป้องกันการติดเชื้อต่างๆ
หลังผ่าตัด
ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
โดย
วัดสัญญาณชีพ ทุก 2-4 hr
เฝ้าระวังและสังเกตภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญคือ แผลติดเชื้อ และ Hydrocephalus
วัดเส้นรอบศีรษะทุกวันเพื่อประเมินภาวะ Hydrocephalus
บริหารแขนขา/ เปลี่ยนท่านอนบ่อยๆ
Down ’s syndrome
คือ
ความผิดปกติทางโครโมโซมคู่ที่ 21
อาการและอาการแสดง
กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก,หัวแบนกว้าง,หูติดอยู่ต่ำ,brush field spo
คอสั้นและผิวหนังด้านหลังของคอค่อนข้างมากและนิ่ม
ปากอ้าและลิ้นมักจะยื่นออก และมีรอยแตกที่ลิ้น
มือกว้างและสั้น มักจะมี simian crease
นิ้วก้อยโค้งงอ,ร่องระหว่างนิ้วโป้งเท้าและนิ้วชี้กว้าง
เส้นลายนิ้วมือมักพบ ulnar loop >พบ distal triradius ในฝ่ามือ
ทางเดินอาหารอุดตัน พบ duodenum stenosis
ร่าางกายเจริญเติบโตช้า ติดเชื้อง่าย
มีความผิดปกติเกี่ยวกับตาและหู
เช่น
ตาเข สายตาสั้น มีปัญหาการได้ยิน
การรักษา
กระตุ้นและส่งเสริมพัฒฯาการตามช่วงวัย
รักษาโรคทางกายอื่นๆที่มีร่วมด้วย
เช่น
โรคหัวใจ,ระบบทางเดินอาหารอุดกั้น
ให้คำปรึกษาแนะนำด้านพันธุกรรม
Guillain Barre ‘s Syndrome
คือ
กลุ่มโรคที่เกิดจากการ
บวมอักเสบของระบบประสาทส่วนปลาย
หลายๆเส้นอย่าง
เฉียบพลัน
หลังจากมีการติดเชื้อในร่างกาย
อาการและอาการแสดง
Sensation
มีอาการเหน็บชา เจ็บ ปวดทีปลายแขนปลายขา ไหล่ สะโพก และโคนขา
อาจเริ่มด้วยอาการคล้ายเป็นตะคริวที่ส่วนปลาย
มีอาการอ่อนแรง ชา สูญเสีย reflex
motor
กล้ามเนื้ออ่อนแรงทั้งสองข้าง โดยเริ่มต้นที่ขาลามขึ้นที่แขนและลำตัวด้านบน รวมไปถึงกล้ามเนื้อทรวงอก
อาการของประสาทสมอง
มีอัมพาตของหน้า ปิดตา และปากไม่สนิท
ความผิดปกติของการแสดงสีหน้า
ถ้ามีความผิดปกติเส้นประสาทคู่ที่ 7,9,10
จะมีอาการกลืน พูด และหายใจลำบาก
อาการลุกลามของประสาทอัตโนมัติ
การเต้นหัวใจผิดจังหวะ ความดันโลหิตไม่คงที่
หัวใจเต้นช้าหรือเร็ว หน้าแดง เหงื่อออก
ปัสสาวะคั่ง,ท้องอืดจาก paralytic ileus
นิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดการหายใจไม่เพียงพอจากกล้ามเนื้อช่วยหายใจอ่อนแรงอย่างเฉียบพลัน
เสียงต่อการขาดสารอาหารจากไม่สามารถช่วยตนเองจากกล้ามเนื้ออ่อนแรงอย่างสมบูรณ์
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการไม่เคลื่อนไหว
ผู้ป่วยและญาติกลัว วิตกกังวล ท้อแท้ กับอาการของโรคที่เป็นจากการขาดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการปฏิบัติตัว
การรักษา
รักษาด้วยการเปลี่ยนถ่ายพลาสมา
รักษาด้วย Intravenous Immunglobulin
สะดวก ง่าย มีความเสี่ยงน้อย
การพยาบาล
Check vital sign โดยเฉพาะ RR
ให้ออกซิเจน เมื่อจำเป็น
ติดตามประเมินการเคลื่อนไหว กำลังของกล้ามเนื้อ การรับรู้สัมผัส ภาวะของmotor sensory และ cranial nerve
ดูแลปัญหาการขาดสารอาหาร
สังเกตอาการปวดตามกล้ามเนื้อ
ประคับประคองด้านจิตใจ
ส่งเสริมการมองโลกในแง่ดีสำหรับผู้ป่วย
นางสาวคีตภัทร บุญขำ
เลขที่ 9 รหัส 62111301010