Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทาง ระบบประสาท, นาย ธีภพ จ่ารุ่ง เลขที่ 33 รหัส…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทาง
ระบบประสาท
ชักจากไข้สูง(Febrile
convulsion)มีความสัมพันธ์กับไข้
แบ่งได้ 2 ชนิด
Simple Febrile convulsion ชักทั้งตัว
เกิดในระยะสั้น ไม่เกิดซ้ำ มีไข้ร่วม
Complex Febrile convulsion
ชักซ้ำซ้อนจากภาวะไข้สูง
สาเหต
ภาวะไข้สูงเกิดจากติดเชื้อในระบบต่างๆ สาเหต
แต่เด็ฏจะชักเมื่ออุณหภูมิ 38.5ขึ้นไป
อาการ
สับสนมึนงง
ร้องกวน
ตัวร้อน
ไม่รู้สึกตัว
ชักเกร็งหรือกระตุก ตาลอย
การรักษา
ถ้าชักเกิน 5 นาทีต้องให้หยุดชักให้เร็วทีสุด
โดยให้ยากันชัก(ยาฉีด)
ให้ยาลดไข้ร่วใกับการเช็ดตัว
หลักชักต้องซักประวัติให้ละเอียด
ทานยานาน 1-2 ปี
การพยาบาล
เช็ดตัวลดไข้พร้อมให้ยาลดไข้
ให้จัดท่าเป็นท่าตะแคงศรีษะตำ่กว่าตัว ดูดเสมหะถ้ามี
ไม่ต้องผูกยึดเด็กเพราะอาจะได้รับบาดเจ็บได้
ไม่ต้องใส่อะไรไปกดลิ้น หรืออุดปากเด็ก
วัดV/Sทุก 4hr.
ระวังอุบัติเหตุที่อาจเกิดตอนชักได้
สังเกตและบันทึกระยะเวลาของการชัก
ลมชัก Epilepsy เกิดอย่างน้อย 2 ครั้งขึ้นไป รักษาไม่ต่อเนื่อง
ชนิดอาการชัก
Partial seizure ชักเฉพาะที
Complex partial seizure
ชักแล้วมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
Partial seizure evolving to secondary
generalize seizure มีอาการชักของ simple
และ complex แล้วยังชักหรือกระตุกทั้ง ตัว
Simple partial seizure
กระตุกแขนขารหือชา แปบบนึง 5-10วิ
Generalized seizure
Tonic seizure เกร็งแข็ง ล้มไปเลย
Clonic seizure กระตุกเป็นจังหวะ
Tonic clonic seizure (Grand mal) เกร็งก่อนแล้วกระตุก
Atonic seizure สูญเสียความตึงตัวของกล้ามเนือ
Myoclonic seizure มีการหดตัวของกล้ามเนือเวลาสัน ๆ
Absence seizure (Petit mal)
ตากระตุก
Infantile spam เด็ก3m-2y งอหัว ลำตัว
แขนขาในเวลาสันๆแล้วจึงคลายออกคล้ายสะดุ้ง
Unclassified epileptic seizure
จัดกลุ่มไม่ได้
การรักษา
ให้ Diazepam ทางหลอดเลือดดำ
ยากันชัก
ทานต่อเนืองและต้องดูผลการรักษาตลอด
Benzodiazepine : Diazepam (ง่วง)
Phenobarbita ง่วงซึม เดินเซ
Phenytoin(dilantin) เหงือกหนา
มีภาวะซีดจากFolic acid ตาได้
Valproic acid ง่วงซึม มือสั่น
สาเหตุ
จริงๆไม่ทราบแน่ชัดแต่คาดว่ามีรอยโรคในเนื่อสมอง
ทำให้มีการหลั่งคลื่นสมองผิดปกติ
Meningitis เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
มาจากการติดเชื้อ
โรคนี้มีการเจาะไขสันหลังดู(Cerebrospi
nal fluid test : CSF)
Pressure
เด็กโต : 110-150 mmH2O
ทารก 100 mmH2O
Red cells/White cell count ไม่พบ
Glucose 50-75 mg/dl
Protein 14-45 mg/dl
อาการ
มีไข้ ซึมลง กระหม่อมโปงตึง ชัก
อาการแสดงระคายเคืองของเยือหุ้มสมอง
คอแข็ง(Stiffness of neck)
Kernig’s sign ได้ผลบวก
Brudzin
การรักษา
รักาษเฉพาะ : ให้Antibioticต่องสอดคล้องกับ
CSF เพือลดการติดเชือ
รักษาตามอาการ: ยากันชัก ยาลดไข้
อาจจะต้องใช้เครือ งช่วยหายใจในรายทีมีความผิดปกติเกียว
กับการหายใจ
การปองกัน ควรฉีดวัคซีน
Encephalitis
ไข้สมองอักเสบเนื้อสมองผิดปก
ติ อาจเกิดจาการติดเชือไวรัส
การป้องกัน
-ฉีดวัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบJE
-เลี่ยงการสัมผัสกับเชื้อหรือพาหะ
การวินิจฉัย
ตรวจน้าไขสันหลัง พบว่าน้ำ
ไขสันหลังใส ไม่มีสี WBC 1-1,000ความดันน้ำไขสันหลังสูงกว่า 180 ml โปรตีนสูง>40 น้ำตาลปกติ
การรักษา
ให้ยากันชัก
Phenoberbitalยาทีลดอาการบวมของสมอง
ยาAntibiotic เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน
ข้อวินิจฉัย
อาจเกิดอันตรายต่อเซลล์สมองเนืองจากเยือหุ้มสมองอักเสบ: ให้Antibiotic
ประเมินความรู้สึกตัว
อาจเกิดอันตรายต่อเซลล์สมองเนืองจากภาวะความดันในสมองสูง
อาจเกิดอันตรายต่อเซลล์สมองเนืองจากภาวะพร่องออกซิเจน : ให้ออกซิเจน suction
ให้ยากันชัก
อาจเกิดภาวะขาดสมดุลของสารนา Electrolyte และสารอาหาร : ให้สารน้ำ
อาจเกิดอันตรายจากการชักเนืองจากไข้สูง
ไม่สุขสบายปวดศีรษะจากการมีการระคายเคืองที่เยื่อหุ้มสมอง
: ให้อนอนพัก ไม่ทำกิจกรรมหนักๆ
อาการ
เกิดการคั่งของlymphocyte
ในเนื้อสมองและเยื่อหุ้ม ทำให้ภาวะสมองบวม
ไข้สูง ปวดต้นคอคอแข็ง
หายใจไม่สม่ำเสมอเคลื่อนไหวผิดปกติ
โรคสมองพิการ
(Cerebral Palsy)
เป็นความบกพร่องสมองส่วนที่ควบคุมกล้ามเนื้อ
ทำให้การเคลื่อนไหวผิดปกติ
อาการและอาการแสดง
กลุ่มเกร็ง(Spastic)
กล้ามเนื้อเกร็ง เคลื่อนไหวช้า
ควบคุมกล้ามเนื้อไม่ได้
กลุ่มเคลื่อนไหวผิดปกติ(Dystonia)
ควบคุมให้อยู่ไม่ได้
มีแสดงสีหน้า คอบิด แขนงอ กลืนลำบาก
รวมถึงกระตุกเร็ว
สาเหตุ
คลอด
คลอดยาก
รกพันคอ
สมองขาดอกซิเจน
หลังคลอด
ได้รับการกระทบกรเทือนทางศรีษะ
เส้นเลือดในสมองผิดปกติ
ก่อนคลอด
เลือดออกทางช่องคลอด ระหว่าง 6-9m
มารดาขาดสารอาหาร
มารดามีภาวะชักหรือปัญญาอ่อน
มีการใช้ยาที่ผิดส่งผลกระทบต่อทารกให้สมองพัฒนาการช้า
การรักษา
ให้ยาคลายกล้ามเนือ
ทำกายภาพบำบัดแขน ขา
การให้ early stimulation เพือให้สมองส่วนต่างๆทีไม่มีความเสียหาย
ให้คำแนะนำผู้ปกคองในการดูแลเด็กในชีวิตประจำ
ส่งเสริมให้เด็กมีทักษะการใช้ส่วนต่างๆของร่างกาย
แก้ไขความผิดปกติของการรับรู้ทีสำคัญ
กลุ่มดาวน์(Down's Syndrome
อาการและอาการแสดง
เส้นลายนิ้วมือมักพบ ulnar loop มากกว่าปกติ
ปากอ้า ลิ้นยื่น
หูติดจ่ำ
ร่างกายเติบโตช้า
หัวแบนกล้าง
หัวใจพิการแต่กำเนิด
การพยาบาล
กระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการให้เหมาะสมตามวัย
รักษาโรคทางกายร่วมด้วย
การให้คำปรึกษาและแนะนำด้านพันธุกรรม
เป็นความผิดแกติของโครโมโซมคู่ที่ 21 ทำให้เกิดปัญญาอ่อน
Guillain Barre‘s Syndrome
โรคที่เกิดจากการบวมอักเสบของระบประสามส่วนปลาย
การรักษา
เปลี่ยนถ่ายPlasma
รักษาด้วย Intarvenous Immunglobulin
รักษาเนิ่นๆ 2-4wk หลังมีอาการครั้งแรก ช่วยชีวิตได้เร็ว
หลักการพยาบาลในระยะเฉียบพลันและต่อเนื่อง
check v/s โดยเฉพาะ RR
ให้ออกซิเจน ถ้ามีภาวะหายใจไม่พอต้องใส่ท่อพร้อมเครื่อ งช่วยหายใจ
ดูการเคลื่อนไหว กำลังกล้ามเนื้อ การรับรู้ ช่วยฟื้นฟูอาการแทรกซ้อน
ดูปัญหาการขาดสารอาหาร เพราะผู้ป่วยนำ้หนักลดเร็ว
อาการและอาการแสดง
Motor
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
อัมภาต เริม ทีต้นขาแล้วลุกลามไปแขน ลำตัว
เมือลุกลามไปทีกล้ามเนือทีช่วยในการหายใจทำให้หายใจล้มเหลว
อาการของประสาทสมอง
ประสาทสมองคู่ที่ 7 พบบ่อยสุด
อัมภาตที่หน้า ปาก ตา ปิดไม่สนิท
Sensation
สูญเสีย reflex
เน็บชา
ปวดเฉพาะปลายแขนขา
อาการแรกคล้ายเปนตะคริว
อาการลุกลามของประสาทอัตโนมัติ
ส่วนMedulla
ควบคุมอวัยวะสำคัญและเส้นประสาท เวกัส
เกิดความผิดปกติ
สไปนา ไบฟิดา(Spina Bifida) ผิดปกติของท่อระบบประสาททีเจริญไม่สมบูรณ์
สาเหตุ
ยังไม่แน่ชัด คาดว่ามารดาติดเชือไวรัสในช่วงไตรมาสแรก
การรักษา
อาจเกิดการติดเชื่อ เนื่องจากถุงน้ำแตก
ดูแลให้ถุงน้ำได้รับความชุ่มชื้น
และระวังไม่ให้เกิดแผล
หมั้น ดูการฉีกขาด หรือรั่ว
ประเมินการติดเชื่อ
มีกล้ามเนื่อแขนขาอ่อนแรงจากการกดเบีย
ดเส้นประสาทไขสันหลัง
ทำ Passive exercise ให้ผู้ป่วย
ให้ผู้ปกครองสอนการกระตุ้นการเคลื่อนไหวของผู้ป่วย
สังเกตการอ่อนแรงของแขนขา
และการควบคุมการขับถ่าย
อาจมีการติดเชื่อของระบบทางเดินปัสสาวะเนื่องจากมีก
ารคั่งของของน้ำปัสสาวะ
ทำความสะอาดทุกครั้งหลังขับถ่าย
ให้ยา Antibiotic ตามแผนการรักษา
ทำCrede's manuever mุก 2-4 hr.
การพยาบาลหลังผ่าตัด
มีโอกาสติดเชื่อบริเวณแผลหลังผ่าตัดได้ง่ายจา
กการปนเปื้อนอุจาระปัสสาวะ
ดูแลทำความสะอาดแผลให้สะอาด
ดูแลให้ยาAntibioticตามแผนการรักษา
และประเมินv/s
เสียงต่อภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
ประเมินv/sทุก 2-4 hr.
บริหารแขนขาบ่อยๆและเปลี่ยนท่านอนบ่อยๆ
มี 3 ชนิด
Spina Bifida Occulta
Spina Bifida Myelomeningocele
Spina Bifida Meningocele
Hydrocephalus เป็นภาวะที่มีการคั่งของน้ำไขสันหลังมากผิดปกติ
ทำให้เกิดความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่ม ขึ้น
อาการและอาการแสดง
หนังศรีษะบางและมองเห็นเส้นเลือดบริเวณหน้า
เสียงเคาะกระโหลกคล้ายหม้อแตก
เด็กเล็กกระหม่อหน้ายังไม่ปิดแต่โป่งตึงกว่าปกติ
ตามองภาพมัว เห็นภาพซ้อน และกรอกลงล่าง
ศีรษะโต
Reflexของขาไวกว่าปกติ
การรักษา
ผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินน้ำไขสันหลัง(Shunt)
(V-P Shunt : ventriculo-peritoneal
shunt)
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
อาจเกิดแผลกดทับบริเวณศรีษะ
รักษาความสะอาดบริเวณผิวหนัง
ทีนอนต้องตึงถ้าไม่ตึงอาจทำให้กดศรีษะเด็กได้
ประเมินแผลกดทับสมาเสมอ
อาจเกิดภาวะขาดน้ำและสารอาหารได้เนื่องจากมีการสำร
อกอาเจียนหรือดูดนมได้น้อย
ดูแลให้ได้รับนมครั้งละน้อยๆแต่บ่อย
ขณะให้นมนอนศรีษะสูงเสมอ
หลังให้นมต้องจับเรอเพือไล่ลมออก
อาจเกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูงจาก
การคั่งของน้ำไขสันหลัง
ประเมินความดันในกะโหลกศรีษะ
วัดเส้นรอบศรีษะทุกวันเวลาเดียวกัน
นอนศรีษะสูง 15-30องศา
ผ่าตัดรักษาตามสาเหตุ
การพยาบาลหลังผ่าตัดทางเดินของท่อไขสันหลัง
จัดท่านอนเพื่อป้องการกดทับลิ้น ขิงท่อทางเดินน้ำไขสันหลัง
สังเกตุและบันทึกอาการของภาวะแทรกซ้อน
อาการแสดงของความดันในกะโหลกศรีษะสูง
วัดและบันทึก V/S รวมทั้งประเมินอาการทางระบบประสาท
ดูแลแผลให้สะอาด ตามแผนการรักษา
ซึม ไม่ดูดนม อาเจียนพุ่ง
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยน
กระหม่อนหน้าโป่งตึง
ให้ได้รับยาAntibiotic ตามแผนการรักษา
พลิกตะแคงตัวเปลี่ยนท่าบ่อยๆ ป้องกันภาวะปอดอักเสบ
วัดเส้นรอบท้อง หลังผ่าตัด 24 hr.แรก
เพื่อประเมินประสิทธิภาพในการดูดซึมน้ำไขสันหลังที่ระบาย
ออกมา
วัดเส้นรอบศรีษะทุกวัน
เพื่อประเมินการทำงานของท่อระบายน้ำไขสันหลัง
สาเหตุ
สร้างหรือผลิตน้ำไขสันหลังมากผิดปกติ
มีการอุดกั้นการไหลเวียนของน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง
มีความผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสันหลัง
นาย ธีภพ จ่ารุ่ง เลขที่ 33 รหัส 62111301034 ปี 2