Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูกหัก
(Bone fracture, Fracture), image - Coggle Diagram
การดูกหัก
(Bone fracture, Fracture)
คือ
การมีรอยแยก รอยแตก หรือมีความไม่ต่อเนื่องกันของเนื้อกระดูก เป็นภาวะที่พบได้บ่อยทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ ส่วนใหญ่มักเกิดจากอุบัติเหตุที่มีแรงมากระทํามากเกินไปจนทําให้กระดูกหักและก่อให้เกิดอาการเจ็บปวด บวม เคลื่อนไหวไม่ได้ หรือเคลื่อนไหวผิดปกติ
พยาธิสรีรวิทยา
เมื่อเกิดกระดูกหัก มีการฉีกของเนื้อเยื้อหุ้มกระดูกตำแหน่งนั้น รวมทั้งเส้นเลือดและเนื้อเยื้ออื่นๆที่อยู่ข้างเคียง ส่งผลให้เกิดการบวมและการคั่งของเลือด ทำให้ขาดเลือดไปเลี้ยงกระดูกตำแหน่งที่ได้รับบาดเจ็บ เกิดการตายของ osteocyte และเนื้อเยื้อบริเวณนั้น ร่างกายจาะตอบสนองโดยมีปฏิกิริยาการอักเสบและเข้าสู่ขบวนการตายของ osteocyte และเนื้อเยื้อบริเวณนั้น ร่างกายจาะตอบสนองโดยมีปฏิกิริยาการอักเสบและเข้าสู่ขบวนการเสริมสร้างกระดูก โดย Hunter แบ่งเป็น ระยะดังนี้
- Inflammatory stage ในช่วง 24-72 ชั่วโมงแรกหลังได้รับการบาดเจ็บมีอาการ ปวด บวม ร้อน ในตำแหน่งที่กระดูกหัก เนื่องจากมี vasodilation และการรั่วซึมของน้ำเหลืองออกมาภายนอกเข้าสู่เนื้อเยื้อข้างเคียงinflammatory cell ได้แก่ polymorphoneuclear cell และ macrophage เคลื่อนตัวเข้าสู่ตำแหน่งนั้นในระยะนี้ใช้เวลาจนภึงเริ่มการสร้างกระดูกออ่น(Soft callus stage)
- Soft callus stage ในตำแหน่งที่เกิดกระดูกหักมี hematoma หุ้มรอบเนื่องจากมีการขาดของเส้นเลือดในกระดูกและเยื้อหุ้มกระดูกเอง มีการสร้าง fibrine และ capillaries แทรกเข้าตำแหน่งนั้น pleuripotentialmesenchymal cell ทำหน้าที่สร้างใยคลอลาเจนและกระดูกอ่อนขึ้นใหม่เกิดเป็น fibrocartilaginous unionหรือ osteoid เมื่อตรวจร่างกายระยะนี้จะพบ clinical union
- Hard callus stage ระยะนี้เกิดการแทนที่ด้วย woven bone เริ่มเห็น classification จากภาพถ่ายรังสีค่อยๆเพิ่มความมั่นคงแข็งแรงมากขึ้นแต่ยังไม่เท่ากระดูกปกติ ระยะนี้ใช้เวลาประมาณ 3-4 เดือน
- Remodeling stage เข้าสู่ภาวะปกติคือ normal lamella bone ใช้เวลาหลายเดือนจนถึงหลายปีโดย osteoclast ทำหน้าที่ย่อยสลายกระดูกในส่วนที่จัดเรียงไม่ดี ขณะที่ osteoblast สร้างกระดูกขึ้นใหม่ตามแนวแรงที่เกิดขึ้นภายในกระดูก
-
การประเมินสภาพ
- การซักประวัติ ถามประวัติอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น
- การตรวจร่างกาย ตรวจร่างกายทั่วไป และให้ความสำคัญพิเศษบริเวณที่ได้รับอันตราย อาจพบกระดูกโผล่ออกมาภายนอก อวัยวะนั่นผิดรูปร่าง
- การถ่ายภาพรังสี เพื่อดูความผิดปกติและเป็นแนวทางในการรักษ
การจำแนกชนิดของกระดูกหัก
แบ่งตามลักษณะของบาดแผล
- กระดูกหักชนิดไม่มีแผล (Closed Fracture)
- กระดูกหักแบบแผลเปิด (Open หรือ Compound Fracture)
-
แบ่งตามลักษณะรอยหัก
- กระดูกหักตามขวาง (Transverse Fracture)
- กระดูกหักเฉียง (Oblique Fracture)
- กระดูกหักเป็นเกลียว (Spiral Fracture)
- ปุ่มกระดูกแตก (Avulsion Fracture)
- กระดูกหักยุบเข้าหากัน (Impacted Fracture)
- กระดูกหักล้า (Stress Fracture)
- กระดูกยุบตัว (Compression Fracture)
- กระดูกแตกย่อย (Comminuted Fracture)
- กระดูกหักจากพยาธิสภาพ (Pathologic Fracture)
อาการ
-
-
-
สีผิวบริเวณนั้นเปลี่ยนแปลงไป รู้สึกชาบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บ ซึ่งเป็นสัญญาณบ่งบอกว่าเส้นประสาทบริเวณใกล้กระดูกที่หักได้รับความเสียหาย
เด็กไม่ยอมขยับส่วนที่ได้รับบาดเจ็บ ไม่ยอมเคลื่อนไหวหรือลงน้ำหนักบริเวณนั้นตามปกติ เช่น เดินไม่ได้ เหยียดข้อศอกให้ตรงลำบาก
-
-
-
-
การวินิจฉัย
-
ผู้ที่เกิดกระดูกหักบริเวณข้อมือ สะโพก หรือประสบภาวะกระดูกหักล้า อาจต้องเข้ารับการตรวจด้วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์หรือซีทีสแกน (CT scan) หรือตรวจด้วยเครื่องสร้างภาพด้วยคลื่นสนามแม่เหล็กไฟฟ้าหรือเอ็มอาร์ไอ (MRI) หรือสแกนกระดูก
-
-