Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท
ชักจากไข้สูง (Febrile convulsion)
สาเหตุ
ภาวะชักจากไข้สูงเกิดจากการติดเชื้อในระบบต่างๆเด็กจะมีอาการชักเมื อร่างกายมีอุณหภูมิสูงมากกว่า 39องศาเซลเซียส
คืออาการชักที่สัมพันธ์กับการมีไข้ที ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อของระบบประสาท
ชนิด
simple febrile seizure
ชักทั้งตัวไม่เกิน 15นาทีไม่ชักซ้ำ
complex febrile seizure
ฃักเฉพาะที่ชักซ้ำ
อาการ
ตัวร้อน
หน้าแดง
กระสับกระส่าย
ร้องกวน
ลักษณะการชักจะตัวแข็งหรือตัวอ่อนชักเกร็งกระตุกไม่รู้สึกตัว
การรักษา
ระยะที กําลังมีอาการชัก
กรณีทีมีการชักเกิน 5 นาทีต้องทําให้หยุดชักเร็วทีสุดโดยให้ยาระงับอาการชักเช่น diazepam
2.ให้ยาลดไข้ร่วมกับเช่นตัวลดไข้(เน้นขณะชักห้ามให้ยาชนิดรับประทาน
ระยะหลังชัก
ซักประวัติตรวจร่างกายโดยละเอียดให้ยาป4องกันการชักรับประทานทุกวันนาน 1-2 ป5เช่น Phenobarbital , Depakine
การพยาบาล
1.V/S q 4 hr.
2.tepid sponge & ให้ยาลดไข้
3.จัดท่านอนหงายหันศีรษะไปข้างใดข้างนึงและ Suction
4.ไม่ผูกยึด/จับขณะชักเพราะอาจทําให้ข้อหลุด/กระดูกหัก
5.ไม่ใส่อะไรงัดภายในช่องปากเพราะอาจทําให้เกิดอุบัติเหตุได้
6.ระวังอุบัติเหตุเกิดขึ้นขณะชักเช่นตกเตียง
7.สังเกตและบันทึกระยะเวลาของการชักลักษณะการซัก
โรคสมองพิการ(Cerebral Palsy)
ความบกพร่องของสมองส่วนทีใช้ควบคุมกล้ามเนื้อทําให้เกิดความผิดปกติเกียวกับท่าทางการทรงตัวการเคลื อนไหว
สาเหตุ
1.ระยะก่อนคลอด
การมีเลือดออกทางช่องคลอดของมารดาช่วงระหว่างการตั้งครรภ์เดือนที6-9
มารดาขาดสารอาหาร,มีภาวะชัก,ปัญญาอ่อน,ขณะตั้งครรภ์มีการใช้ยาบางชนิด,ได้รับอุบัติเหตุ,ติดเชื้อ
คลอดก่อนกําหนดนำ้หนักตัวน้อย
2.ระยะคลอด
เป็นสาเหตุของสมองพิการร้อยละ 30
สมองขาดออกซิเจนได้รับอันตรายจากการคลอดคลอดยากรกพันคอคลอดท่าก้นการใช้คีมดึงเด็ก
3.ระยะหลังคลอด
สาเหตุของสมองพิการร้อยละ 5
การได้รับการกระทบกระเทือนที ศีรษะตัวเหลืองเมือแรกเกิดเส้นเลือดทีสมองมีความผิดปกติ
การขาดออกซิเจนจากการจมน"าการติดเชื้อบริเวณสมองการได้รับสารพิษ
อาการและอาการแสดง
กลุ่มเกร็ง (Spastic)
กล้ามเนื้อเกร็งเคลือนไหวได้ช้ำ
กลุ่มเคลือนไหวผิดปกติ (Dystonia)
ไม่สามารถควบคุมให้อยู่นิงๆ
การรักษา
การให้ยาคลายกล้ามเนื้อได้แก่ diazepam,baclofen
การทํากายภาพบําบัดของกล้ามเนื้อแขนขาหรือลําตัว
การให้ early stimulation เพือให้สมองส่วนต่างๆที ไม่มีความเสียหายได้พัฒนา
การแก้ไขความผิดปกติของการรับรู้ทีสําคัญ
การแก้ไขความผิดปกติของระบบประสาทส่วนอื่น
การให้คําแนะนําผู้ปกครองในการดูแลเด็กในชีวิตประจํำวัน
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
1.การเคลือนไหวของร่างกายบกพร่องเนืองจากมีความบกพร่องของระบบประสา
2.ขาดการดูแลตนเองเนื่องจากความบกพร่องทางด้านร่างกาย
3.ได้รับสารอาหารน้อยกว่าความต้องการของร่างกายเนื่องจากปัญหาการให้อาหารและความบกพร่องทางร่างกาย
4.มีความบกพร่องในการสือสารด้วยวาจาเนื่องจากสูญเสียการได้ยิน/ระบบประสาทบกพร่อง
5.เสี่ยงต่อพัฒนาการช้ากว่าวัย/มีพัฒนาการช้ากว่าวัยเนื่องจากความบกพร่องของระบบประสาท
Hydrocephalus ภาวะน้ำคั่งในโพรงสมอง
ภาวะที่มีการคั่งของน้ำไขสันหลังในกะโหลกศีรษะบริเวณเวนติดเคิล(ventricle) ของสมองและ subarachnoid spaceมากกว่าปกติ
น้ำไขสันหลังที่คั่งมากจะทําให้เกิดความดันภายในกระโหลกเพิมขึ้น
สาเหตุ
1.การสร้างหรือการผลิตน้ำไขสันหลังมากผิดปกติ
การอุดกั้นการไหลเวียนของน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง
ความผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสันหลัง
อาการและอาการแสดง
ศีรษะโต/หัวบาตร (cranium enlargement)
2.กระหม่อนหน้าโป่งตึงกว่าปกติปกติ (fontanelle bulging )
3.หนังศีรษะบางและมองเห็นหลอดเลือดดําที่บริเวณใบหน้าหรือศรีษะโป่งตึงเห็นชัดมากกว่าปกติ(enlargement&engorgement of scalp vein)
4.เสียงเคาะกะโหลกเหมือนหม้อแตก(macewensigeCracked pot sound)
5.อาการแสดงของความดันในกะโหลกศีรษะสูง
6.ตาทั้ง 2 ข้างกรอกลงข้างล่าง
7.ตาพล่ามัวเห็นภาพซ้อน(diplopia)
8.รีเฟลกซ์และ tone ของขา2 ข้างไวกว่าปกติ
9.พัฒนาการทั่วไปช้ากว่าปกติ
การวินิจฉัย
การตรวจด้วยการส่องไฟฉาย( transillumination test)
Transillumination test
Ventriculography
CT scan
Ultrasound
Head Circumference
การรักษา
ผ่าตัดรักษาสาเหตุ
การให้ยาลดการสร้างน้ำไขสันหลัง (Diamox
ผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินน้ำไขสันหลัง (Shunt)
Ventriculo-peritoneal Shunt (V-P Shunt)
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
ปัญหาที่1 อาจเกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูงจากการคั่งของน้ำไขสันหลัง
1.ประเมินอาการความดันในกระโหลกศีรษะสูง
2.วัดเส้นรอบวงศีรษะทุกวันเวลาเดียวกัน
3.จัดท่านอนศีรษะสูง 15-30 องศา
ปัญหาที่2 อาจเกิดแผลกดทับบริเวณศีรษะ
1.จัดให้นอนบนที่นอนนุ่มๆใช้หมอนนุ่มรองศีรษะไหล่เปลี่ยนท่านอนบ่อยๆ
2.รักษาความสะอาดของผิวหนัง
3.จัดปูที่นอนให้เรียบตึง
4.ตรวจสอบประเมินการเกิดแผลกดทับสม่ำเสมอ
ปัญหาที 3 อาจเกิดภาวะขาดสารน้ำ-และอาหารเนื่องจากการสํารอกอาเจียนหรือดูดนมได้น้อย
1.ดูแลให้รับนมน้ำครั้งละน้อยๆโดยแบ่งให้บ่อยครั้ง
2.ขณะให้นมอุ้มท่าศีรษะสูงเสมอ
3.หลังให้นมจับเรอไล่ลม
ระยะหลังผ่าตัดทางเดินของท่อไขสันหลัง
จัดท่านอนเพือป้องกันการกดทับลิ้นของท่อทางเดินน้ำไขสันหลัง
2.สังเกตและบันทึก
การติดเชื้อของลิ้นท่อทางเดินน้ำไขสันหลัง
มีเลือดออกใต้ชั้นดูรา
อาการและอาการแสดงของภาวะแทรกซ้อนหลังทําผ่าตัด
อาการแสดงของภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงจากการอุดตันท่อระบายน้ำไขสันหลัง
3.ดูแลรักษาความสะอาดบริเวณแผลผ่าตัดตามแผนการรักษา
4.พลิกตะแคงตัวและเปลียนท่านอนบ่อยๆเพือป้องกันการเกิดภาวะปอดอักเสบ
5.ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะอย่างถูกต้อง
6.วัดเส้นรอบท้องหลังผ่าตัด 24 ชั่วโมงแรกเพื่อประเมินประสิทธิภาพการดูดซึมน้ำไขสันหลังทีระบายมาจากเวนติเคล
สไปนา ไบฟิดา(Spina Bifida)
เป็นความผิดปกติของท่อระบบประสาทที่เจริญไม่สมบูรณ์
รอยต่อของกระดูกสันหลังไม่เชื่อมติดกัน
ความผิดปกติที่พบได้ที่แนวไขสันหลัง
สาเหตุ
สาเหตุที่แท้จริงยังไม่ทราบสาเหตุ
อาจเกิดจากมารดามีการติดเชื้อไวรัสในขณะตั้งครรภ์ ในระยะ3เดือนแรก ภาวะทุพโภชนนาการและมารดาที่มีอายุน้อยหรือมากเกินไป
พยาธิสภาพ
ในระยะที่อยู่ในครรภ์มารดาประมาณ สัปดาห์ที่ 10 ของเอมบริโอ จะเริ่มมีการสร้างของรอยต่อระหว่างกระดูกสันหลังทุกข้อรอยต่อของกระดูกสันหลังมีอยู่ 3 แห่ง
ที่ตัวของกระดูก (Body) 1 แห่ง
ที่ส่วนโค้งของกระดูก (Arch) 2 แห่ง
การสร้างรอยต่อของกระดูกสันหลังนี้จะเจริญไปเรื่อยเพื่อเจริญเติบโตเป็นกระดูกสันหลังที่สมบูรณ์
ถ้ามีความผิดปกติในการเจริญของการสร้างรอยต่อของกระดูกเมื่อใดก็ตามจะทำให้ส่วนตัวของกระดูก หรือส่วนโค้งของกระดูกสันหลังปิดไม่หมด
การวินิจฉัย
มารดามีประวัติติดเชื้อขณะตั้งครรภ์การตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบ Alphafetoprotien
ในน้ำคร่ำสูง
การตรวจร่างกายทารกพบความผิดปกติ
การรักษา
การผ่าตัดเย็บปิดถุงที่ยื่นออกมา
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
อาจเกิดการติดเชื้อ เนื่องจากถุงน้ำแตก
การพยาบาล
1.จัดท่านอนตะแคงหรือนอนคว่ำ
2.ไม่นุ่งผ้าอ้อม
3.ดูแลถุงน้ำให้ชุ่มชื่น ระวังไม่ให้เกิดแผล
4.หมั่นตรวจสอบการฉีกขาด รั่ว
5.ประเมินการติดเชื้อ
อาจมีการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะเนื่องจากการคั่งของน้ำปัสสาวะ
การพยาบาล
1.ทำ Crede’manuever ทุก 2-4 hr
2.ทำความสะอาดทุกครั้งหลังขับถ่าย
3.ให้ยา Antibiotic ตามแผนการรักษา
มีกล้ามเนื้อแขนขาอ่อนแรงจากการกดเบียดเส้นประสาทไขสันหลัง
การพยาบาล
1.ทำ Passive Exercise ให้ผู้ป่วย
2.สอนผู้ปกครองในการกระตุ้นการเคลื่อนไหวของผู้ป่วย
สังเกตอาการอ่อนแรงของแขนขา การควบคุมการขับถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ
กลุ่มอาการดาวน์ (Down ’s syndrome)
ความผิดปกติทางโครโมโซมคู่ที่ 21 และเป็นสาเหตุที่พบบ่อย
ที่สุดในกลุ่มโรคพันธุกรรมที่ทำให้เกิดปัญญาอ่อน
อุบัติการณ์ ประมาณ 1:1,000
โอกาสเสี่ยงจะสูงขึ้นถ้ามารดามีอายุมากกว่า 30 ปี และจะสูงขึ้น
ชัดเจนมากถ้าอายุมากกว่า 35 ปี
บิดามารดาของผู้ป่วยจะมีโครโมโซมปกติ
อาการและอาการแสดง
กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก(hypotonia)
หัวแบนกว้าง(brachiocephaly)
คอสั้นและผิวหนังด้านหลังของคอค่อนข้างมากและนิ่ม
หูติดอยู่ต่ำ
brush field spot
ปากอ้าและลิ้นมักจะยื่นออกและมีรอยแตกที่ลิ้น
มือกว้างและสั้น มักจะมีsimian crease
นิ้วก้อยโค้งงอ(clinodactyly)
ร่องระหว่างนิ้วโป้งเท้าและนิ้วชี้กว้าง
เส้นลายนิ้วมือมักพบ ulnar loopมากกว่าปกติและพบdistal triradius ในฝ่ามือ
ทางเดินอาหารอุดตันที่พบบ่อยคือ duodenum stenosis
Hypothyroidism
ร่างกายเจริญเติบโตช้า
Polycythemia
ความผิดปกติเกี่ยวกับตา เช่น ต้อกระจก ต้อหิน ตาเข สายตาสั้น
ความผิดปกติเกี่ยวกับหู เช่น ช่องรูหูเล็ก มีปัญหาการได้ยิน
อวัยวะเพศของผู้ชายอาจเล็กกว่าปกติ พัฒนาการทางเพศช้า
หัวใจพิการแต่กำเนิด
การติดเชื้อโดยเฉพาะระบบทางเดินหายใจเกิดง่ายกว่าเด็กทั่วไป
การรักษา
การกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการให้เหมาะสมตาม
วัยตั้งแต่อายุยังน้อย(early stimulation)
การรักษาโรคทางกายอื่นๆที่มีร่วมด้วย คือ โรคหัวใจระบบทางเดินอาหารอุดกั้น ภาวะฮัยโปไทรอยด์และอื่นๆ
การให้คำปรึกษาแนะนำด้านพันธุกรรม
Guillain Barre ‘s Syndrome
กลุ่มอาการของโรที่เกิดจากการบวมอักเสบของระบบประสาทส่วนปลายหลายๆเส้นอย่างเฉียบพลัน ที่เกิดขึ้นหลังจากมีการติดเชื้อในร่างกาย
อาการและอาการแสดง
1.Sensation
เริ่มมีอาการเหน็บชา เจ็บและปวดโดยเฉพาะปลายแขนปลายขา ไหล่ สะโพกและโคนขา
อาการอาจเริ่มด้วยอาการคล้ายเป็นตะคริวที่ส่วนปลายอาจรุนแรงต้องให้ยาแก้ปวด แล้วจึงมีอาการอ่อนแรง ชา สูญเสีย reflex
2.motor
กล้ามเนื้ออ่อนแรง (Flaccid motor
paralysis) ทั้งสองข้างสมดุลกัน
อาการอัมพาตใน GBS จะเริ่มต้นที่ขา เดินลำบาก และจะลุกลามขึ้นที่แขนและลำตัวด้านบน
รวมไปถึง
กล้ามเนื้อทรวงอก แขนทั้งสองข้าง
3.อาการของประสาทสมอง
ประสาทสมองคู่
ที่ 7 (Facaial nerve)
เฉพาะส่วนใบหน้า
พบความผิดปกติบ่อยที่สุด
มีอัมพาตของ
หน้า ปิดตา และปากไม่สนิท
ความผิดปกติของการแสดงสีหน้า
ถ้ามีความผิดปกติเส้นประสาทคู่ที่ 7 (Facial nerve),9
(Glossophryngeal nerve) , และคู่ที่ 10 (Vagus nerve)
มีอาการกลืน พูดและหายใจลำบาก
4.อาการลุกลามของประสาทอัตโนมัติ
medulla oblongata ที่
ควบคุมการทำงานของอวัยวะสำคัญและเส้นประสาท vagus
เกิดความผิดปกติร่วมด้วยจะเกิดอาการผิดปกติในระบบประสาทอัตโนมัติซึ่งถือเป็นปัญหาที่พบบ่อยในผู้ป่วย GBS
การเต้น
หัวใจผิดจังหวะ
ความดันโลหิตไม่คงที่
หัวใจเต้นช้าหรือเร็ว
หน้าแดง
เหงื่ออก
ปัสสาวะคั่ง
ท้องอืดจาก paralytic ileus
การรักษา
1.การรักษาด้วยการเปลี่ยนถ่ายพลาสมา(Plasma ExchangeหรือPlasmapheresis)
2.การรักษาด้วย Intravenous Immunglobulin (IVIG)
สะดวกและง่าย
มีความเสี่ยงน้อยกว่าการแลกเปลี่ยนพลาสม่า
ข้อเสียคือราคาแพงและมีโอกาสกับเป็นซ้ำได้มากกว่า plasmapheresis
การรักษาแต่เนิ่นๆ ภายใน2-4 สัปดาห์หลังจากเริ่มมีอาการครั้งแรกจะสามารถช่วยชีวิตได้เร็วขึ้น
วินิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดการหายใจไม่เพียงพอจากกล้าม
เนื้อช่วยหายใจอ่อนแรงอย่างเฉียบพลัน
เสี่ยงต่อการขาดสารอาหารจากไม่สามารถช่วย
ตนเองจากกล้ามเนื้ออ่อนแรงอย่างสมบูรณ์
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการไม่เคลื่อนไหว จากกล้ามเนื้ออ่อนแรงทำให้สูญเสียความสามารถในการดูแลตนเอง
ทุกข์ทรมานจากอาการปวดกล้ามเนื้อ
ขาดการติดต่อสื่อสารกับบุคคลอื่นๆจากไม่
สามารถพูดได้
ผู้ป่วยและญาติกลัว วิตกกังวล ท้อแท้กับอาการ
ของโรคที่เป็นจากการขาดความรู้และความเข้าใจ
หลักการพยาบาลในระยะเฉียบพลันและต่อเนื่อง
Check vital sign โดยเฉพาะ RR ต้องมีการตรวจวัด vital capacity,tidal volumeหรือminute volume
ให้ออกซิเจน ถ้ามีภาวการณ์หายใจไม่พอจำเป็นต้องใส่ท่อช่วยหายใจพร้อมเครื่องช่วยหายใจ
ติดตามประเมินการเคลื่อนไหว กำลังของกล้ามเนื้อ การรับรู้สัมผัส สภาวะของmotor sensory และ cranial nerve
ช่วยเหลือฟื้นฟูสภาพ Observe อาการแทรกซ้อนจากการจำกัดการเคลื่อไหว
ดูแลปัญหาการขาดสารอาหาร
เนื่องจากผู้ป่วยจะมีน้ำหนักลดลงอย่างรวดเร็ว
ต้องการพลังงานในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ ทำให้ได้รับอาหารไม่เพียงพอ
สังเกตอาการปวดตามกล้ามเนื้อ
ประคับประคองด้านจิตใจ ส่งเสริมการมองโลกในแง่ดีสำหรับผู้ป่วย