Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้รูบริกส์ในการ วัดและประเมินผลการเรียนรู้ - Coggle Diagram
การใช้รูบริกส์ในการ
วัดและประเมินผลการเรียนรู้
ความหมาย
Rubrics
ชุดเกณฑ์หรือมาตรฐานที่ออกแบบ
สอดคล้องกับเป้าหมายการเรียนรู้
ใช้เป็นแนวทางในการให้คะแนน
องค์ประกอบ
เกณฑ์การประเมิน
(Criteria)
สิ่งที่ผู้สอนและ
ผู้เรียนร่วมกันกeหนดขึ้น
สามารถสะท้อนถึงคุณภาพเกี่ยวกับ
ภาระงานที่ผู้เรียนต้องปฏิบัติ
ต้องสอดคล้องกับเป้าหมายการ
เรียนรู้ในการทำภาระงานนั้น ๆ
ระดับคุณภาพ
(Performance level)
จำนวนระดับคุณภาพของการปฏิบัติงาน
ตามประเด็นที่จะประเมิน
การบรรยาย
คุณภาพของแต่ละระดับ
(Quality description)
การเขียนบรรยายหรือพรรณนารายละเอียดเพิ่มเติม
เขียนบรรยายให้ชัดเจน ใช้ภาษากะทัดรัด เข้าใจง่าย
การแบ่งประเภท
Holistic rubrics
สร้างขึ้นสำหรับให้คะแนนการปฏิบัติ
งานในภาพรวม
นำเอาทุกประเด็นที่จะประเมิน
มาเขียนอธิบายไปพร้อม ๆ กัน
ข้อดี
ใช้กับการประเมินงานต่าง ๆ
ได้หลายงาน ที่มีลักษณะคล้าย ๆ กัน
ประหยัดเวลาในการประเมิน
การวัดมีความน่าเชื่อถือ
ข้อเสีย
ไม่ได้ให้ข้อมูลย้อนกลับที่เฉพาะเจาะจงกับผู้เรียน
ขาดรายละเอียดที่เฉพาะเจาะจง จึงไม่มีประโยชน์
สำหรับการวัดและประเมินผลเพื่อการพัฒนาผู้เรียน
Analytic rubrics
สร้างขึ้นสำหรับให้คะแนนการปฏิบัติงาน
แยกแยะตามประเด็นที่จะประเมิน
ข้อดี
มีประโยชน์ในการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน
สามารถถ่วงน้ำหนักให้แต่ละเกณฑ์หรือแต่ละ
ประเด็นที่จะประเมินได้ตามความสำคัญ
ข้อเสีย
ใช้เวลานานทั้งในการสร้าง
ใช้เวลาในการให้คะแนน
General rubrics
สร้างขึ้นโดยใช้เกณฑ์หรือ
ประเด็นที่จะประเมินกว้าง ๆ
สามารถนำไปใช้ประเมินได้หลายงานหรือ
หลายสิ่งที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติ
ผู้เรียนสามารถร่วมสร้างกับผู้สอนได้
ความเชื่อมั่นใน
การประเมินต่ำ
Task specific rubrics
สร้างขึ้นโดยมีเป้าหมายเพื่อประเมินเฉพาะงานใดงานหนึ่งที่มอบหมายให้ผู้เรียนปฏิบัติ
สามารถพิจารณาให้คะแนนการปฏิบัติงาน
หรือผลผลิตจากการปฏิบัติงานได้ง่ายกว่า General rubrics
ใช้เวลาน้อยในการทำ
ให้มีความเชื่อมั่น
จะต้องเขียนใหม่ทุกครั้งในแต่ละงาน
ทำให้ยุ่งยากและเสียเวลา
เหมาะที่จะใช้ในกรณีที่
ต้องการเน้นการประเมิน
ด้านความรู้
แนวทางและ
ขั้นตอนการสร้าง
ขั้นที่ 1 กำหนดงานที่ต้องการประเมิน
ขั้นที่ 2 กำหนดประเภทของ Rubrics ที่ใช้ประเมินงาน
ขั้นที่ 3 กำหนดเกณฑ์หรือประเด็นที่จะประเมิน
ขั้นที่ 4 กำหนดจำนวนระดับคุณภาพ
ขั้นที่ 5 เขียนบรรยายคุณภาพของแต่ละระดับ
ขั้นที่ 6 ทดลองและฝึกใช้ Rubrics
ขั้นที่ 7 จัดทำเป็นเครื่องมือการให้คะแนนที่สมบูรณ์