Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มารดาอายุ 28 ปีG2P1A0L1 GA 30 wks by U/C วินิจฉัยTwin pregnancy with…
มารดาอายุ 28 ปีG2P1A0L1 GA 30 wks by U/C
วินิจฉัยTwin pregnancy with hypothyroid
Twin pregnancy
ชนิดของการตั้งครรภ์แฝด
Monozygotic twins pregnancy
แฝดที่เกิดจากไข่ใบเดียวกันหรือแฝดเหมือน เป็นครรภ์แฝดที่เกิดจากไข่ที่ปฏิสนธิแล้วใบเดียว ทารกแฝดจะมีรูปร่างหน้าตา เพศ ลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนกัน
Dizygotic twins pregnancy
แฝดที่เกิดจากไข่คนละใบ เป็นครรภ์แฝดที่เกิดจากไข่ที่ปฏิสนธิ 2 ใบ ทารกแฝดชนิดนี้จะมีรูปร่างหน้าตา ลักษณะทางพันธุกรรมต่างกัน ส่วนเพศอาจเหมือนหรือต่างกันก็ได้
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
และตรวจร่างกาย
ขนาดมดลูกโตกว่าอายุครรภ์
ตรวจได้ส่วนต่างๆของทารก มากผิดปกติ
ฟังได้ยินเสียงหัวใจทารกมากกว่า 1 ตำแหน่ง
การตรวจทาง
ห้องปฏิบัติการ
การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง
ผลกระทบ
ด้านมารดา
หลังคลอดเสี่ยงตกเลือด
คลื่นไส้อาเจียนมากกว่าปกติ
มีการเพิ่มของ Cadiac output
ด้านทารก
ภาวะ twin-twin transfusion syndrome เป็นภาวะแทรกซ้อนสำคัญของแฝดชนิด monochorionic เกิดจากการมีการเชื่อมต่อและถ่ายเทเลือดที่ไม่สมดุลระหว่างทารกทั้งสอง ทารกที่เสียเลือดให้อีกคน จะเกิดภาวะโลหิตจาง โตช้าในครรภ์ น้ำคร่ำน้อย ส่วนทารกที่ได้รับเลือดจะเกิด ภาวะหัวใจล้มเหลว บวมน้ำ น้ำคร่ำมาก
ทารกทั้งสองอยู่ในถุงน้ำคร่ำเดียวกัน
ภาวะทารกเสียชีวิตหนึ่งคน
คลอดก่อนกำหนด
hyperthyroid
ในหญิงตั้งครรภ์
ระดับ hCG สูงขึ้น
กระตุ้นการทำงานของต่อมไทรอยด์
α-subunit ของไกลโคโปรตีน
โดย hCG จะเพิ่มสูงที่สุดช่วงอายุครรภ์ 10-12 สัปดาห์
สตรีตั้งครรภ์กว่าร้อยละ 80 มีค่า TSH ลดลง
ในระหว่างตั้งครรภ์จะมีการสร้างฮอร์โมนไทรอยด์เพิ่มขึ้นร้อยละ 40-100 เพื่อให้เพียงพอสำหรับมารดาและทารก
ต่อมไทรอยด์ฮอร์โมนมากกว่าปกติ
รกสร้างthyroid stimulating factor
ต่อมthyroidถูกควบคุม
(THS,chorionic gonadotropin)
ไตทำงาน
ขับiocine ออกจากร่างกาย
Iodine deficiency state
ส่งไปยังทารก
estrogen เพิ่มขึ้น
TBG จับกับT3T4ในเลือด
Hormones thyroid ไม่อยู่ในรูปอิสระ
เกิดขึ้นเนื่องจากต่อมพิทูอิทารีผลิตTHSไปกระตุ้นต่อมไทรอยด์ น้อยกว่าปกติหรือมีการอักเสบของ ต่อมไทรอยด์ทำให้เซลล์ต่อมไทรอยด์ถูกทำลายจนไม่สามารถผลิตฮอร์โมนได้
ภาวะไทรอยด์เป็นพิษในหญิงตั้งครรภ์ (Thyrotoxicosis)
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย ร้อนง่าย เหงื่อออกมาก มือสั่น ใจสั่น อารมณ์แปรปรวน น้ำหนักลดแม้จะรับประทานอาหารอย่างเพียงพอ ชีพจรเต้นเร็ว ต่อมไทรอยด์โตทั่วๆ และตาโปนจะพบได้ใน Graves' disease
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์และทารก
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์รวมทั้งครรภ์เป็นพิษ
ไทรอยด์เป็นพิษรุนแรง (Thyroid storm)
คลอดก่อนกำหนด
ภาวะแท้งคุกคาม
หัวใจวาย
รักษา
รักษาด้วยยา Levothyroxine หรือ LT4 และไม่แนะนำให้ใช้ยาตัวอื่นที่เป็น T3 ร่วมกับ T4 เช่น Desiccated thyroid extract เพราะมีสัดส่วนของ T4 ไม่เพียงพอ เนื่องจากการพัฒนาสมองทารกต้องการ T4 เป็นหลัก และพบว่า T3 ผ่านเข้าระบบประสาททารกได้น้อย และมักเกิดจากการเปลี่ยนของ T4 เป็น T3 ในสมองมากกว่า
ผ่านทาง
ลดลง