Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจสอบคุณภาพ ของแบบทดสอบ - Coggle Diagram
การตรวจสอบคุณภาพ
ของแบบทดสอบ
ความเที่ยงตรง
(Validity)
คือ ระดับคุณภาพของเครื่องมือวัดผลที่บ่งบอกว่า
ข้อมูลที่ได้จากการวัดตัวแปร คุณลักษณะ
มีความถูกต้องหรือไม่ เพียงใด
ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา
(Content validity)
คือ ฉบับนั้นวัดได้ถูกต้อง สอดคล้อง และครบถ้วน
ตามขอบเขตเนื้อหาที่ต้องการวัดหรือไม่
ผู้สอนต้องวิเคราะห์เนื้อหา ตัวชี้วัด และจุดประสงค์การเรียนรู้อย่างรอบคอบเพื่อเลือกและกำหนดน้ำหนักคะแนน
การตรวจสอบนิยมให้ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาและการวัดผล
ช่วยตัดสิน
ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง
(Construct validity)
ข้อสอบทั้งหมดในแบบทดสอบฉบับนั้นสามารถวัดตัวแปรที่ต้องการวัดได้ถูกต้อง สอดคล้องและครอบคลุมตามนิยามหรือโครงสร้างเชิงทฤษฎีของตัวแปรที่ต้องการวัดนั้นหรือไม่
ความเที่ยงตรงตามโครงสร้างส่วนใหญ่จะ
นิยมใช้ในการสร้างแบบทดสอบวัดตัวแปรทางจิตวิทยา
การตรวจสอบมีหลายวิธี เช่น วิธี Item-total correlation
ความเที่ยงตรงเกณฑ์สัมพันธ์
(Criterion-related validity)
ความเที่ยงตรงตามสภาพ
(Concurrent validity)
เป็นคุณภาพของแบบทดสอบที่สามารถวัดพฤติกรรมการเรียนรู้
ของผู้เรียนได้สอดคล้องกับเกณฑ์ที่กำหนดในปัจจุบัน
ตรวจสอบโดยการหาค่าสหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนของแบบทดสอบที่สร้างขึ้นกับคะแนนของแบบทดสอบมาตรฐานที่เป็นที่ยอมรับ
ความเที่ยงตรงตามพยากรณ์
(Predictive validity)
สามารถให้ผลการวัดสอดคล้องกับสภาพในอนาคต
ความเป็นปรนัย
ความชัดแจ้งของข้อคำถามที่ไม่ว่าผู้สอบ
หรือผู้ตรวจคนใดอ่านก็แปลความหมายได้ตรงกัน
ความสอดคล้องหรือตรงกันในการตรวจ
ให้คะแนนในข้อสอบแต่ละข้อ
ความสอดคล้องตรงกันใน
การแปลความหมายของคะแนน
ความยากรายข้อ
กรณีให้คะแนนเป็น 0 กับ 1
ข้อสอลที่มีค่าเข้าใกล้ 0 จะยาก
ข้อสอบที่มีค่า p เข้าใกล้ 1 จะง่าย
ข้อสอบที่มีค่า p เข้าใกล้ 0.50 จะดีมาก
กรณีให้คะแนนไม่ใช่ 0 กับ
ข้อสอบที่มีค่าเข้าใกล้ 0 จะยาก
ข้อสอบที่มีค่า p เข้าใกล้ 1 จะง่าย
ข้อสอบที่มีค่า p เข้าใกล้ 0.50 จะดีมาก
อำนาจจำแนกรายข้อ
กรณีแบบทดสอบอิงกลุ่ม
กรณีให้คะแนนเป็น 0 กับ 1
จะต้องมีค่าดัชนีอำนาจจ าแนกรายข้อตั้งแต่ 0.20 ถึง 1.00
กรณีให้คะแนนไม่ใช่ 0 กับ 1
จะต้องมีค่าดัชนีอำนาจจ าแนกรายข้อตั้งแต่ 0.20 ถึง 1.00
กรณีแบบทดสอบอิงเกณฑ์
ค่า B-index เป็นไปได้มีค่าตั้งแต่ -1 ถึง 1
ข้อสอบที่ยอมรับได้ว่ามีอำนาจจำแนก
เหมาะสมมีค่าตั้งแต่ 0.20
ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ
กรณีแบบทดสอบอิงกลุ่ม
กรณีที่ข้อสอบแต่ละข้อให้คะแนนเป็น 0 กับ 1
ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบมีค่าตั้งแต่ 0.00 ถึง 1.00
ค่าความเชื่อมั่นเข้าใกล้ 1.00 มีความเชื่อมั่นสูงมาก
ค่าความชื่อมั่นเข้าใกล้ 0.00 จะถือว่าขาดความเชื่อมั่น
กรณีที่ข้อสอบแต่ละข้อให้คะแนนไม่ใช่ 0 กับ 1
มีค่าความเชื่อมั่นตั้งแต่ 0.00 ถึง 1.00
กรณีแบบทดสอบอิงเกณฑ์
มีค่าความเชื่อมั่นตั้งแต่ 0.00 ถึง 1.00
(ค่าความเชื่อมั่นเหมือนกับแบบอิงกลุ่ม)