Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ครรภ์แฝดน้ำ (Polyhydramnios) - Coggle Diagram
ครรภ์แฝดน้ำ (Polyhydramnios)
การมีน้ำคร่ำ >2000ml หรือ AFI มากกว่าหรือเท่ากับ 24 cms.
ครรภ์แฝดน้ำมี 2 แบบ
แบบเฉียบพลัน = ภายใน 2-3วันจะเกิดเมื่ออายุครรภ์ประมาณ 20 สัปดาห์ ทำให้มีอาการผิดปกติได้มาก
แบบเรื้อรัง = ใช้เวลานา 2-3 สัปดาห์ขึ้นไป เมื่ออายุครรภ์ 28 สัปดาห์ขึ้นไป จะมีอาการแน่นอึดอัดเมื่อท้องใหญ่มาก
สาเหตุ
เยื่อ amnion มีเนื้อที่กว้าง
ไม่มีส่วนที่คลุมปิดสมองไขสันหลัง
ไม่มี antidiuretic hormone
ไม่มีการดูดซึมถ่ายเทน้ำคร่ำ
การไหลเวียนเลือดผิดปกติ
ภาวะผิดปกติที่พบร่วมกับครรภ์แฝดน้ำ
ครรภ์แฝด
ความพิการบางอย่างของทารก
hydrops fetalis
เบาหวาน
pre-eclampsia
โรคหัวใจ
อาการ
แบบเรื้อรัง
แน่น อึดอัด โดยเฉพาะเมื่อนอนราบ แต่มักทนได้
แบบเฉียบพลัน
แน่น อึดอัดมาก เจ็บท้อง หายใจลำบาก ใจสั่น คลื่นไส้ อาเจียน อาจมีบวมที่ขา หน้าท้องหรืออวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
การวินิจฉัย
ตรวจหน้าท้อง
มดลูกมีขนาดใหญ่ รูปร่างกลม และตึงทุกทิศทาง ระดับยอดมดลูกสูง คลำส่วนของทารกไม่พบหรือพบยาก บอกท่าทารกได้ยาก เสียงหัวใจทารกฟังได้ยาก
ตรวจทางช่องคลอด
คอมดลูกสีคล้ำ นุ่ม สั้น อาจคลำพบถุงน้ำคร่ำโป่งตึงเมื่อปากมดลูกเริ่มขยาย โดยไม่มีการเจ็บครรภ์
การตรวจพิเศษ
x-ray , ultrasound
ภาวะแทรกซ้อน
ระยะตั้งครรภ์
pre-eclampsia
preterm labor
ศีรษะเด็กลอย หรือท่าผิดปกติ
ความพิการของทารก
PROM
Abruptio placenta
ระยะคลอด
ีuterine inertia
prolapsed cord
การคลอดยาก
ตกเลือดหลังคลอด
ผลเสียต่อทารก
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ทารกเจริญเติมโตในครรภ์ไมดี
ทารกมีความผิดปกติตั้งแต่กำเนิด
ครรภ์น้ำคร่ำน้อย (oligohydramnios)
การมีน้ำคร่ำ <500ml หรือ AFI มากกว่าหรือเท่ากัน 5 cms
สาเหตุ
อาจเกิดจากการอุดตันของระบบทางเดินปัสสาวะของทารก ภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ หรือ การรั่วชองถุงน้ำคร่ำเป็นเวลานาน
การวินิจฉัย
มีประวัติว่ามีน้ำเดินทางช่องคลอด
ทารกเคลื่อนไหวน้อย
การตรวจทางหน้าท้อง = คลำส่วนของทารกได้ง่าย ไม่สามารถทำ ballottement ของศีรษะทารกได้
เมื่อถุงน้ำคร่ำแตก น้ำคร่ำออกน้อย ข้น
ภาวะแทรกซ้อน
มดลูกบีบหดรัดตัวทารกได้มาก
ทารกมักอยู่ในท่าก้ร