Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคระบบไหลเวียนโลหิต imagesCAIATE1X - Coggle Diagram
โรคระบบไหลเวียนโลหิต
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
(Congenital heart disease)
กลุ่มที่ไม่มีอาการเขียว (Acyanotic)
1. Patent Ductus Arteriosus (PDA)
โรคหลอดเลือดหัวใจเกิน
เป็นความผิดปกติของหลอดเลือด ductus arteriosus ที่เชื่อมระหว่างหลอดเลือดแดงใหญ่และหลอดเลือดปอดที่เปิดอยู่
สาเหตุ
ภาวะคลอดก่อนกำหนด ภาวะขาดออกซิเจนขณะคลอด หรือการติดหัดเยอรมันในระยะ 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์
2. Ventricular Septal Defect (VSD)
เป็นความผิดปกติของหัวใจที่มีรูรั่วที่ผนังกั้นห้องใจห้องล่างขวาและซ้าย
พบบ่อยที่สุด
อาการแสดงขึ้นอยู่กับขนาดของรูรั่วและแรงต้านทานหลอดเลือดในปอด
ในกรณีที่รูรั่วมีขนาดเล็ก เด็กจะไม่มีอาการใดๆ
ในเด็กที่มีรูรั่วขนาดกลางหรือใหญ่ จะมีภาวะหัวใจวาย จะมีอาการได้ตั้งแต่ 2-3 เดือน
3. Atrial Septal Defect (ASD)
เป็นความผิดปกติของหัวใจที่มีรูรั่วที่ผนังกั้นหัวใจห้องบนขวาและซ้าย มักมีรูรั่วเดียว
พบร้อยละ 8-10
พบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง
4. Coarctation of aorta
ภาวะที่มีการตีบตันของหลอดเลือดแดงใหญ่ ส่วนใหญ่เกิดที่ Aortic isthmus ใต้ left subclavian artery แบ่งเป็น 3 ชนิด
1) Preductal type มีการตีบก่อนถึง ductus arteriosus มักจะเสียชีวิตตั้งแต่เล็ก
2) Ductal type ส่วนที่ตีบจะอยู่ตรงกับส่วนต่อของ ductus พอดี
3) Postductal type มีการตีบใต้ต่อ ductus arteriosus กลุ่มนี้จะมีชีวิตโตจนถึงเป็นผู้ใหญ่ได้
5. Pulmonary Stenosis (PS)
ภาวะลิ้นหัวใจหลอดเลือดแดงปอดตีบแคบ
เกิดจากการที่ลิ้นหัวใจเชื่อมติดกัน ทำให้ลิ้นหัวใจไม่สามารถเปิดกว้างได้
ถ้าทีการตีบแคบมาก หัวใจห้องล่างขวาต้องเพิ่มความดันเลือดให้สูงขึ้น เพื่อบีบตัวให้เลือดไปปอดได้เพียงพอ
6. Aortic Stenosis (AS)
เป็นภาวะที่พบได้บ่อย
โดยมากเกิดจากกระบวนการสะสมของแคลเซียมและเซลล์อักเสบที่ลิ้นหัวใจ
กลุ่มที่มีอาการเขียว (Cyanotic)
2. Transposition of the great arteries (TGA)
ความผิดปกติที่หลอดเลือดแดงใหญ่ออกจากหัวใจห้องล่างขวา และ pulmonary artery ออกจากห้องล่างซ้าย
3. Pulmonary atresia
การที่ Pulmonary valve ตันหรือตีบมาก จนเลือดผ่านไม่ได้
อาจเกิดร่วมกับความพิการของหัวใจอย่างอื่น
4. Tricuspid atresia (TA)
ไม่มี Tricuspid valve ทำให้เลือดเข้าสู่ห้องขวาล่างไม่ได้
ทำให้เลือดจากห้องขวาบนต้องผ่าน ASD แล้วเข้าปอดทาง PDA หรือ VSD
ถ้ามี TGA ร่วมด้วย จะมี CHF
1. Tetralogy of fallot (TOF)
เป็นโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
ส่วนใหญ่ผู้ป่วยไม่ได้มีอาการช่วงแรกเกิด
จะตรวจพบได้จากการตรวจร่างกายพบ heart murmur
ประกอบด้วยความผิดปกติ 4 ชนิด
1) Right ventricular hypertrophy ผนังหัวใจห้องล่างขวาหนาตัวขึ้น
2) Pulmonary valve stenosis
3) Overriding of aorta การคร่อมของหลอดเลือดแดงใหญ่อยู่ระหว่าง Interventricular septum
4) Ventricular septal defect
หน้าที่
ขนส่งอาหารและออกซิเจนไปให้เซลล์และนำคาร์บอนได้ออกไซด์ออกจากเซลล์
รักษาความสมดุลของกรด-ด่าง ในร่างกาย
ควบคุมสภาพสมดุลของของเหลวภายในร่างกาย
ควบคุมอุณหภูมิในร่างกาย
ช่วยลำเลียงฮอร์โมนและเอ็นไซม์ไปให้เซลล์
ป้องกันเชื้อโรคและสร้างภูมิคุ้มกัน
โรคของลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจตีบ (stenotic vavle)
Tricuspid stenosis
Aortic stenosis
เป็นภาวะที่พบบ่อย โดยมากเกิดจากกระบวนการสะสมของแคลเซียมและเซลล์อักเสบที่ลิ้นหัวใจ
Mitral stenosis
ส่วนใหญ่เกิดจากการอักเสบเรื้อรังในห้องหัวใจ
Acute rheumatic fever สามารถทำให้หัวใจอักเสบได้ทุกชั้น
Pulmonic stenosis
ลิ้นหัวใจแคบลง แข็ง หนา ติดกัน กีดกั้น
ทำให้เลือดไหลไม่สะดวก
ลิ้นหัวใจรั่ว (Regurgitate vavle)
ลิ้นหัวใจที่ปิดไม่สนิท ทำให้เลือดไหลย้อนกลับ
เมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัว เลือดส่วนหนึ่งจะไหลย้อนกลับไปยังห้องบนซ้ายผ่านลิ้นที่รั่ว
2.Pulmonary regurgitation
3.Mitral regurgitation
1.Aortic regurgitation
4.Tricuspid regurgitation
โรคที่เกิดจากลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจเสื่อมสภาพตามวัย
-เสื่อมตามอายุ ส่วนใหญ่พบในคนที่อายุ 40 ปีขึ้นไป เนื่องจากความยืดหยุ่นของเนื้อเยื่อเสื่อมสภาพไป
-ทำให้ลิ้นหัวใจผิดรูป เกิดการเปิด-ปิดไม่สนิท ทำให้เกิดอาการโรคลิ้นหัวใจรั่ว
เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจตีบ
-ทไให้เกิดการตายของกล้ามเนื้อ หัวใจจะอ่อนแรง
-เมื่อเป็นมากขึ้น อาจทำให้เป็นโรคลิ้นหัวใจรั่ว ส่วนใหญ่จะเป็นคนอายุ 50-60 ปี
ลิ้นหัวใจรูมาติน
-เกิดจากการติดเชื้อในลำคอ หรือผิวหนัง และทำให้เกิดการสร้างภูมิต้านทาน ส่งผลให้มีการทำลายเนื้อเยื่ออื่นๆ รวมทั้งลิ้นหัวใจด้วย
-เมื่อลิ้นหัวใจถูกทำลาย จะมีพังผืดและหินปูนเกาะ ทำให้ลิ้นหัวใจเปิด-ปิดไม่ดี หัวใจจึงทำงานหนักมากขึ้น
โรคหลอดเลือดหัวใจ
เส้นเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ
เรียกว่า เส้นเลือดแดงโคโรนารี่
มีรูปเปิดอยู่ที่บริเวณโคนของเส้นเลือดแดงใหญ่ แบ่งเป็น 2 เส้น คือ
เส้นเลือดแดงโคโรนารี่ด้านขวา จะเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจด้านขวาและกล้ามเนื้อหัวใจด้านซ้ายส่วนล่าง
เส้นเลือดแดงโคโรนารี่ด้านซ้าย จะเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจด้านซ้ายที่เหลือทั้งหมด จะแตกออกเป็น 2 แขนง
การปวดจากหัวใจ
เจ็บหรือแน่นหน้าอก เป็นเพราะขาดเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ มีอาการปวดร้าวไปที่ไหล่
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
แบบคงที่ (Stable angina)
-เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจตำแหน่งตีบตันทั้วไปอย่างคงที่ และมีเลือดไหลผ่านไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจเพียงพอ
-ถ้าเริ่มทำงานแล้วหัวใจเต้นเร็วขึ้น เลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจในปริมาณเดิมก็จะไม่เพียงพอ
-ไม่เคยเป็นกล้ามเนื้อหัวใจตาย
แบบไม่คงที่ (Unstable angina)
-เป็นภาวะที่เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจมีการตีบตันอยู่ แต่อยู่ๆเลือดก็ไม่ไหลผ่านไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ ซึ่งเกิดได้แม้การนั่งพัก นอนหลับ
-อาการเจ็บหน้าอกปานกลางถึงรุนแรง อาจเกิดขึ้นทั้งๆที่ไม่เคยเจ็บมาก่อน จึงอันตรายกว่า เพราะอาจก้าวเลยไปเป็นขาดเลือดไปเลี้ยงหัวใจได้
สาเหตุ
-การเกิดรอยแตกที่คราบไขมัน ซึ่งพอกผนังเส้นเลือดแดงอยู่
-พอเกิดรอยแยกแล้ว ร่างกายมีการตอบสนอง คือ เม็ดเลือดขาวมาควบคุมจนเกิดปฏิกิริยาการอักเสบ แล้วมีการคั่งแข็งตัวของเลือดใกล้ คราบไขมันที่แตก
-ก้อนเลือดที่คั่งแข็งตัว จะมีขนาดใหญ่ขึ้น จนเกิดการอุดตัน
-เจ็บหน้าอกมาก เกิดกล้ามเนื้อหัวใจตาย ถ้าเส้นเลือดแดงตัน
Rheumatic Heart Disease
เป็นโรคหัวใจที่ไม่ได้เป็นมาแต่กำเนิด
มักพบในเด็ก โดยที่บางครั้งเด็กไม่มีอาการชัดเจน
เมื่อโตแล้ว พบว่าเกิดลิ้นหัวใจพิการ
สาเหตุ
-เกิดจากการติดเชื้อคออักเสบ
-ร่างกายมีการตอบสนองต่อการติดเชื้อผิดปกติ
-ร่างกายสร้างภูมิต้านทานขึ้นมาทำลายเชื้อ แต่ภูมิต้านทานเหล่านี้กลับมาทำลายตัวเอง ทำให้เกิดการอักเสบของอวัยวะหลายระบบ
ผลที่ตามมา
-จากการเกิดลิ้นหัวใจอักเสบ คือเกิดพังผืดเกาะยึดบริเวณลิ้นหัวใจ
-ทำให้ลิ้นหัวใจแข็ง เปิดได้ไม่เต็มที่
ภาวะหลอดเลือดแข็ง (Atherosclerosis)
พบบ่อยที่สุด
ตำแหน่งที่พบบ่อยคือ Abdominal aorta
พยาธิสภาพคือ พบไขมันสะสมใน tunica intima
เห็นเป็นแผ่นนูนสีเหลือง
สาเหตุ
-อาหารและภาวะ hypercholesterolemia
-hypertention
-การสูบบุหรี่
-เบาหวาน
Buerger disease : TAO
ลักษณะของโรค
-มีการอักเสบของหลอดเลือดที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ
-มักเกิดกับหลอดเลือดแดงขนาดเล็ก
-เกิดกับหลอดเลือดดำของทั้งส่วนบนและส่วนล่าง
ลักษณะของโรค สัมพันธ์กับ
-การสูบบุหรี่
-การดำเนินของโรคจะแปรผันกับการสูบบุหรี่อย่างต่อเนื่อง
อาการเฉพาะ
-ปวดในตำแหน่งอวัยวะที่ขาดเลือดทั่วไป
-เป็นแผลเรื้อรัง
หลอดเลือดแดงโป่งพอง (Aneurysm)
การโป่งพองมี 2 ชนิด
True การโป่งพองทุกชั้นของหลอดเลือด
False การโป่งพองเฉพาะบางชั้นของหลอดเลือด
ชนิดของ aneurysm
Fusiform aneurysm การโป่งพองตามแนว axis of vessel
Saccular aneurysm การโป่งพองตามแนว tangential of axis
Dissecting aneurysm การโป่งพองที่มีการแยกชั้น intima ออกจากผนังของหลอดเลือด
โรคหลอดเลือดแดงใหญ่ในช่องท้องโป่งพอง
ปัจจัยเสี่ยง
-สูบบุหรี่
-มีความดันโลหิตสูง
-เพศชาย อายุเกิน 60 ปี
-มีญาติสายตรงเป็น AAA
อาการแสดง : AAA
-อาจไม่มีอาการผิดปกติ
อาการแสดง
-คลำชีพจรได้ในท้อง คล้ายหัวใจเต้น
-คลำได้ก้อน เต้นได้ในท้อง
-เจ็บท้องหรือหลังส่วนล่างอย่างรุนแรงทันทีทันใด
-ถ้าหลอดเลือดที่โป่งพองใกล้จะแตก ผู้ป่วยอาจขาเปลี่ยนสี เป็นแผล
โรคของหลอดเลือดดำ
Thrombophlebitis
Phlebothrombosis
Varicose vein
แบ่งเป็น 2 ส่วน
ไหลเวียนทั่วร่างกาย
เลือดที่ไหลเวียนออกจากหัวใจห้องล่างซ้ายไปสู่ส่วนต่างๆของร่างกาย แล้วกลับเข้ามาหัวใจห้องบนขวา
วงจรนี้ทำงานกว้างขวาง
ไหลเวียนผ่านปอด
เลือดที่ส่งมาเข้าหัวใจห้องบนขวาจะเทลงสู่ห้องล่างขวา แล้วส่งไปยังปอด หลังจากนั้นจะกลับเข้ามาห้องบนซ้ายใหม่
วงจรนี้ทำงานน้อย
เยื่อบุหัวใจอักเสบ (Endocarditis)
มักมีลักษณะเป็นก้อนยื่นจากผิว เรียก "Vegetation"
การเกิดเชื้อโรคในกระแสเลือดจากสาเหตุใดๆก็ตาม เช่น เหงือกอักเสบ
เชื้อนี้จะไปจับที่ก้อนเลือดเล็กๆ ที่จับอยู่ตามลิ้นหัวใจ เรียกว่า "ก้อนเชื้อ"
ก้อนเลือดเล็กๆที่ติดเชื้อเหล่านี้ เมื่อหลุดเข้ากระแสเลือด จะก่อให้เกิดหลอดเลือดอุดตันและการอักเสบจากการติดเชื้อ และเกิดฝีหนองตามอวัยวะต่างๆ ได้ทั่วร่างกาย
Non-infective Endocarditis ไม่พบเชื้อในการระบายอากาศในผู้ป่วย RHD
Infective Endocarditis
-subacute bacterial endocarditis เกิดจากแบคทีเรียชนิดรุนแรงน้อย มักเกิดกับผู้ที่มีความผิดปกติลิ้นหัวใจพิการแต่กำเนิด
-acute bacterial endocarditis เกิดจากแบคทีเรียชนิดรุนแรง มักเกิดกับหัวใจปกติ