Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคระบบไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
โรคระบบไหลเวียนโลหิต
หน้าที่ของระบบไหลเวียนโลหิต
ขนส่งอาหารและออกซิเจนไปให้เซลล์และนำของเสียคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์เพื่อขับถ่ายออกนอกร่างกาย
รักษาความสมดุลของกรดด่างในร่างกาย
ควบคุมสภาพสมดุลของของเหลวภายในร่างกาย
ควบคุมอุณหภูมิร่างกายให้เป็นปกติ
ป้องกันเชื้อโรคและสร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกาย
แบ่งเป็น 2 ส่วน
1.วงจรไหลเวียนทั่วกาย (systemic circulation)
เลือดที่ไหลเวียน ออกจาก LVไปสูู่ส่วนต่างๆของร่างกาย แล้วกลับมาเข้า RA
วงจรไหลเวียนผ่านปอด
(pulmonary circulation)
เลือดที่ส่งมาเข้า RAจะเทลงสู่ RV แล้วส่งไปยังปอด หลังจากนั้นจะกลับมาเข้า LA ใหม่
การไหลเวียนโลหิต
แบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ
หัวใจ
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด (Congenital heart disease)
กลุ่มที่ไม่มีอาการเขียว (Acyanotic)
4.Coarctation of aorta ภาวะที่มีการตีบตันของ aorta
5.Pulmonary Stenosis การตีบของลิ้น pulmonary
3.Atrial Septal Defect (ASD) ความผิดปกติของหัวใจที่มีรูรั่วที่ผนังกั้นหัวใจห้องบนขวา และซ้าย
6.Aortic Stenosis การตีบของลิ้น Aortic
2.Ventricular Septal Defect (VSD) ความผิดปกติของหัวใจที่มีรูรั่วที่ผนังกั้นหัวใจห้องล่างขวา และซ้าย
Patent Ductus Arteriosus (PDA)
โรคหลอดเลือดหัวใจเกินผิดปกติระหว่างปอดและหัวใจ
สาเหตุ
เกิดจาก ductus arteriosus ไม่ปิดตามธรรมชาติ
ภาวะคลอดก่อนกำหนด ภาวะขาดออกซิเจน
ขณะคลอด
กลุ่มที่มีอาการเขียว (Cyanotic)
Pulmonary atresia
การที่ Pulmonary valveตันหรือตีบมากจนเลือดผ่านไม่ได้
Tetralogy of fallot (TOF)
Transposition of the great arteries (TGA)
ความผิดปกติที่ aorta ออกจาก LV และ pulmonary artery ออกจาก RV
Tricuspid atresia
ไม่มีTricucpid valve ทำให้เลือดเข้าสู่ RV ไม่ได้
โรคของลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจตีบ (Stenotic valve)
ลิ้นไตรคัสปิดตีบ (Tricuspid stenosis)
ลิ้นเอออร์ติคตีบ (Aortic stenosis)
เกิดจากกระบวนการสะสมของแคลเซียมและเซลล์ อักเสบที่ลิ้นหัวใจคล้ายคลึงกับกระบวนการ atherosclerosis พบได้ในผู้สูงอายุ
ลิ้นไมตรัลตีบ (Mitral stenosis)
ส่วนใหญ่เกิดจากการอักเสบเรื้อรังในห้องหัวใจ ภายหลังการติดเชื้อ Group A Streptococcal pharyngitis
ลิ้นพูลโมนิคตีบ (Pulmonic stenosis)
ลิ้นหัวใจรั่ว (Regurgitate valve) ลิ้นหัวใจปิดไม่สนิท
ทำให้เลือดไหลย้อนกลับ(Regurgitate valve)
ลิ้นหัวใจรูมาติก (Rheumatic heart disease)
เกิดจากการติดเชื้อในลำคอหรือผิวหนังและทำให้เกิดการสร้างภูมิต้านทานส่งผลให้มีการทำลายเนื้อเยื่อรวมทั้งลิ้นหัวใจด้วย
ลิ้นหัวใจเสื่อมสภาพตามวัย (Degenerative)
เกิดจากการที่ลิ้นหัวใจเสื่อมสภาพตามอายุทำให้ลิ้นหัวใจผิดรูปเกิดการเปิดและปิดไม่สนิททำให้เกิดอาการโรคลิ้นหัวใจรั่วได้
เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจตีบ
ทำให้เกิดการตายของกล้ามเนื้อหัวใจจะอ่อนแรงเมื่อเป็นมากขึ้นอาจทำให้เป็นโรคลิ้นหัวใจรั่ว
โรคหลอดเลือดหัวใจ หรือโรคหัวใจขาดเลือด
ภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบทำให้เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอต่อความต้องการทำให้กล้ามเนื้อหัวใจได้รับออกซิเจนไม่สมดุลกับออกซิเจนที่ใช้
การปวด (Angina Pectoris) จากหัวใจ เจ็บหรือแน่นหน้าอกเพราะขาดเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ
แบบคงที่ (Stable angina) เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจมีตำแหน่งติดกันทั่วไปอย่างคงที่และมีเลือดไหลผ่านไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจเพียงพอ
แบบไม่คงที่ (Unstable angina) เป็นภาวะที่เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจมีการตีบตันอยู่ แต่อยู่ๆ เลือดก็ไม่ไหลผ่านไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ
สาเหตุ
การเกิดรอยแตกที่คราบไขมันซึ่งผนังเส้นเลือดแดงอยู่ ร่างกายมีการตอบสนองคือเม็ดเลือดขาวมาควบคุมจนเกิดปฏิกิริยาการอักเสบและมีการคั่งแข็งตัวของเลือด ก้อนเลือดที่แข็งตัวจะมีขนาดใหญ่ขึ้นจนเกิดการอุดตันและเจ็บหน้าอกมากเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตายถ้าเส้นเลือดแดงตัน
หัวใจวาย (Heart attack) เป็ นการเสียหายของ
กล้ามเนื้อหัวใจอย่างถาวร
เยื่อบุหัวใจอักเสบ (Endocarditis) มักมีลักษณะเป็นก้อนยื่นจากผิว
เรียก Vegetation
Non-infective Endocarditis ไม่พบเชื้อใน vegetation ในผู้ป่วย RHD
Infective Endocarditis
Subacute Bacterial Endocarditis เกิดจากแบคทีเรียชนิดรุนแรงน้อย มักเกิดกับผู้ที่มีความผิดปกติลิ้นหัวใจหรือลิ้นหัวใจพิการ
Acute bacterial Endocarditis เกิดจากแบคทีเรียนชริดรุนแรง มักเกิดกับหัวใจปกติ
หลอดเลือด
ภาวะหลอดเลือดแข็ง (Atherosclerosis)
สาเหตุ
อาหาร และภาวะHypercholesterolemia
Hypertention
การสูบุหรี่
เบาหวาน
Buerger's Disease หรือโรคเบอร์เกอร์
เป็นความผิดปกติของหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดำบริเวณแขนและขา ทำให้เกิดการอักเสบ บวม และอุดตันของหลอดเลือด
อาการเฉพาะ
ปวดในตำแหน่งอวัยวะที่ขาดเลือด
ทั่วไปคือ ปวดขา ปวดแขนขณะพัก
เป็นแผลเรื้อรัง
หลอดเลือดแดงโป่งพอง (Aneurysm)
การโป่งพองของหลอดเลือดเฉพาะที่ (localized)
และเป็นอย่างถาวร
การโป่งพองของหลอดเลือดมี 2 ชนิด
True การโป่งพองทุกชั้นของหลอดเลือด
False การโป่งพองเฉพาะบางชั้นของหลอด
เลือด
ชนิด
Saccular aneurysm การโป่งพองตามแนว tangential of axis
Dissecting aneurysm การโป่งพองที่มีการแยก
ชั้น intima ออกจากผนังของหลอดเลือด
Fusiform aneurysm การโป่งพองตามแนว axis of vessel
โรคหลอดเลือดแดงเอออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง (Abdominal Aortic Aneurysm)
ปัจจัยเสี่ยง
สูบบุหรี่
ความดันโลหิตสูง
เพศชาย อายุเกิน 60 ปี
มีญาติสายตรงเป็ น AAA: แม่/น้องชาย
อาการแสดง :AAA
อาจไม่มีอาการผิดปกติ
คลำชีพจรได้ในท้อง คล้ายหัวใจเต้น
คลำได้ก้อน เต้นได้ในท้อง
เจ็บท้องหรือหลังส่วนล่างอย่างรุนแรงทันทัทันใด
โรคของหลอดเลือดดำ
การอักเสบอุดตันของหลอดเลือด (Thrombophlebitis)
การอุดตันของหลอดเลือดดำ (Phlebothrombosis)
ภาวะหลอดเลือดขอด (Varicose vein)
ความผิดปกติในหลอดเลือดดำ และเป็นอำกำรแสดงอย่างหนึ่งของภาวะหลอดเลือดดำเรื้อรัง