Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคระบบไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
โรคระบบไหลเวียนโลหิต
Ednocarditis เยื่อบุหัวใจอักเสบ
มักมีลักษณะเป็นก้อนยื่นจากผิว
เรียก Vegetation
การเกิดเชื้อโรคในกระแสโลหิต
เชื้อนี้จะไปจับที่ก้อนเลือดเล็กๆ ก่อให้เกิดการอักเสบติดเชื้อ และเกิดฝีหนองขึ้นกับอวัยวะต่างๆได้ทั่วร่างกาย
Monckeberg medial calcific sclerosis
พบในหลอดเลือดขนาดกลาง
มี calcification ชั้น Tunica media
พบในผู้สูงอายุ
Subacute Bacterial Endocarditis
เกิดจากแบคทีเรียชนิดรุนแรงน้อย
เชื้อพบบ่อย Strep.viridans
Acute bacterial Endocarditis
เกิดจากแบคทีเรียชนิดรุนแรง
เชื้อพบบ่อย Staph. aureus
Atherosclerosis
พบบ่อยที่สุดและสำคัญที่สุด
พบไขมันสะสมใน Tunica intima
อาหารและภาวะ
Hypercholesterolemia
ระบบไหลเวียนโลหิต
หน้าที่
ขนส่งอาหารและออกซิเจนไปให้เซลล์
นำของเสียคาร์บอนไดออกไซด์
จากเซลล์เพื่อขับถ่ายออกนอกร่างกาย
รักษาความสมดุลของกรดด่างในร่างกาย
ควบคุมสภาพสมดุลของของเหลวภายในร่างกาย
ควบคุมอุณหภูมิในร่างกาย
ช่วยลำเลียงฮอร์โมนและเอ็นไซม์ไปให้เซลล์
ป้องกันเชื้อโรคและสร้างภูมิคุ้มกัน
แบ่งเป็น 2 ส่วน
วงจรไหลเวียนผ่านปอด (pulmonary circulation)
เลือดที่ส่งมาเข้า RA จะเทลงสู่ RV เเล้วส่งไปยังปอด หลังจากนั้นจะกลับมาเข้า LA ใหม
การไหลเวียน วงจรนี้ทำงานน้อยกว่า เรียกว่า
วงจรเล็ก (lesser circulation)
วงจรไหลเวียนทั่วกาย (systemic circulation)
เลือดที่ไหลเวียน ออกจาก LV ไปสู่ส่วนต่างๆของร่างกาย แล้วกลับมาเข้า RA
วงจรนี้ทำงานกว้างขวาง เรียกว่า วงจรใหญ่ (greater circulation)
การไหลเวียนโลหิต
หัวใจ พร้อมทั้งการทำงานโดยละเอียด
หลอดเลือด มีเลือดบรรจุอยู่พร้อมทั้งกลไกการทำงาน
หน้าที่ของหัวใจ
หัวใจมี 4 ห้อง
ซีกซ้าย/ซีกขวา แต่ละซีก ประกอบด้วย
หัวใจห้องบน และห้องล่าง
ระหว่างห้องบนกับห้องล่างมีลิ้นหัวใจ
ทำหน้าที่เปิด-ปิ ด
เพื่อให้เลือดไหลในทิศทางเดียว และไม่ไหล
ย้อนกลับ
Rheumatic Heart Disease
เป็นโรคหัวใจที่ไม่ได้เป็นมาแต่กำเนิด
เกิดจากการติดเชื้อคออักเสบ
ร่างกายมีการตอบสนองต่อการติดเชื้อ
ผิดปกติ
ลิ้นหัวใจอักเสบคือเกิดผังผืด
เกาะยึดบริเวณลิ้นหัวใจ
โรคของลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจตีบ (Stenoticvalve)
ลิ้นหัวใจแคบลง
ทำให้เลือดไหลไม่สะดวก
ลิ้นหัวใจรั่ว
ลิ้นหัวใจปิดไม่สนิท
ทำให้เลือดไหลย้อนกลับ
เมื่อลิ้นหัวใจรั่วทำให้เลือดไหลย้อนกลับ
เช่น ลิ้นไมตรัลรั่ว
สาเหตุ
(Rheumatic fever)
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจแต่กำเนิด
Buerger's disease
ลักษณะของโรค
มีการอักเสบของหลอดเลือดที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ
ลักษณะการอุดตันของหลอดเลือด
การสุบบุหรี่
อาการของโรค
ปวดในตำแหน่งอวัยวะที่ขาดเลือด
ทั่วไปคือ ปวดขา ปวดแขนขณะพัก
สาเหตุ
ยังไม่รู้แน่ชัด
พบมากในประเทศที่สูบบุหรี่จัด
Aneurysm หลอดเลือดเเดงโปร่งพอง
ลักษณะ
การโป่งพองของหลอดเลือดเฉพาะที่ (localized)
การโป่งพองของหลอดเลือดมี 2 ชนิด
True การโป่งพองทุกชั้นของหลอดเลือด
False การโป่งพองเฉพาะบางชั้นของหลอดเลือด
สาเหตุ
เกิดจากความแข็งแรงของ
ผนังหลอดเลือดลดลง
ทำให้หลอด
เลือดโป่งออกมา
ปัจจัยเสี่ยง
สูบบุหรี่
ความดันโลหิตสูง
เพศชาย อายุ 60 ปีขึ้นไป
อาการ AAA
คลำชีพจรได้ในท้อง คล้ายหัวใจเต้น
คลำได้ก้อน เต้นได้ในท้อง
เจ็บท้องหรือหลังส่วนล่างอย่างรุนแรง
ทันทีทันใด
โรคของหลอดเลือดดำ
Thrombophlebitis
สาเหตุ
การบาดเจ็บของหลอดเลือด
เกิดการคั่งของเลือด
การแข็งตัวของเลือดง่ายกว่าปกติ
หลอดเลือดดำอักเสบและอุดตัน
Phlebothrombosis
การอุดตันของหลอดเลือดดำ
พบได้หลังการผ่าตัดนรีเวชประมาณ 30 วัน
มีอาการปวดขา ขาบวม
Varicose vein
เส้นเลือดขอด
ปวด อาจเป็นตระคริว
สาเหตุ
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจในหลอดเลือดดำ
พันธุกรรม
การอัดเสบของหลอดเลือดดำ
ตั้งครรภ์
ผู้สูงอายุ
ผู้ป่วยหัวใจวาย
โรคหัวใจพิการเเต่กำเนิด
กลุ่มที่ไม่มีอาการเขียว
(Acyanotic)
Patent Ductus Arteriosus (PDA)
โรคหลอดเลือดหัวใจเกินผิดปกติเป็นความผิดปกติของหลอดเลือด
ductus arteriosus
ductus arteriosus ไม่ปิดตามธรรมชาติภาวะคลอดก่อนกำหนด ภาวะขาดออกซิเจน
ขณะคลอด
Ventricular Septal Defect (VSD)
มีรูรั่วที่ผนังกั้นห้องหัวใจห้องล่างขวา
Atrial Septal Defect (ASD)
มีรูรั่วผนั่งกั้นหัวใจห้องบน เป็นตั้งแต่กำเนิดแต่ไม่แสดงอาการตอนเด็ก
Coarctation of aorta
ภาวะที่มีการตีบตันของ aorta
Preductal type มีการตีบก่อนถึง ductus arteriosus
มักจะเสียชีวิตตั้งแต่เล็ก
Ductal type
Postductal type มีการตีบใต้ต่อ ductus arteriosus
Pulmonary Stenosis
ลิ้นหัวใจหลอดเลือดแดงปอดตีบแคบ
Aortic Stenosis
กลุ่มที่มีอาการเขียว (Cyanotic)
Transposition of the great
arteries (TGA)
ความผิดปกติที่ aorta ออกจาก ventricle ขวา
Tetralogy of fallot (TOF)
4 anatomic malformations
Right Ventricular Hypertrophy
กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวาหนามากกว่าปกติ (RVH)
Pulmonary Valve Stenosis
การตีบของลิ้นพัลโมนารี่ (PS)
Overriding of aorta
หลอดเลือดแดงเอออร์ตาอยู่ผิดตำแหน่ง (Dextroposition of aortic origin หรือ Overriding of the Aorta) เอออร์ตาเลื่อนค่อนไปคร่อมช่อง VSD
Ventricular Septal Defect
การมีรูรั่วของผนังกั้นระหว่างห้องหัวใจห้องล่าง (VSD)
Pulmonary atresia
การที่ Pulmonary valveตันหรือตีบ
มากจนเลือดผ่านไม่ได้
การที่ Pulmonary valveตันหรือตีบ
มากจนเลือดผ่านไม่ได้
Tricuspid atresia
ทำให้เลือดจาก RA ต้องผ่าน ASD แล้ว
เข้าปอดทาง PDA หรือ VSD
ถ้ามี transposition of great artery ร่วม
ด้วยจะมี CHF
โรคหลอดเลือดหัวใจ
ภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ
ทำให้เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่
เพียงพอต่อความต้องการ
ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจได้รับ oxygen ไม่
สมดุลกับ oxygen ที่ใช
โรคหัวใจขาดเลือด
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
•มักจะเกิดจากมีลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือดทันที
การปวด (Angina Pectoris) จากหัวใจ เจ็บหรือแน่น
หน้าอกเพราะขาดเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ
แบบคงที่ (Stable angina)
ภาวะที่เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจตีบตันอยู่ ไม่ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจตาย
แบบไม่คงที่ (Unstable angina)
เป็นภาวะที่เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจตีบตันอยู่ อาจทำให้เลือดไม่ไปเลี้ยงหัวใจ เกิดกล้ามเนื้อหัวใจตายได้
จากหัวใจ เจ็บหรือแน่น
หน้าอกเพราะขาดเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ