Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคระบบไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
โรคระบบไหลเวียนโลหิต
Aneurysm (หลอดเลือดแดงโป่งพอง)
การโป่งพองของหลอดเลือดเฉพาะที่(localized)และเป็นอย่างถาวร
การโป่งพองของหลอดเลือดมี 2 ชนิด
True การโป่งพองทุกชั้นของหลอดเลือด
False การโป่งพองเฉพาะบางชั้นของหลอดเลือด
ชนิดของ aneurysm
Fusiform aneurysm
การโป่งพองตามแนว axis of vessel
Saccular aneurysm
การโป่งพองตามแนว tangential of axis
Dissecting aneurysm
การโป่งพองที่มีการแยกชั้น intima ออกจากผนังหลอดเลือด
สาเหตุ
เกิดจากความแข็งแรงของผนังหลอดเลือดลดลงจึงทำให้หลอดเลือดโป่งออกมา
Congenital
Berry aneurysm
Acquired
Trauma/iatrogenic
Inflammation/infection Syphilis
Degeneration - atherosclerosis
ตำแหน่งที่มักพบการโป่งพองของหลอดเลือด
Aorta-95% สัมพันธ์กับโรค atherosclerosis
lliac artery , femoral artery ,popliteal artery
Circle of Willis
Splenic artery / hepatic artery / mesenteric artery(<1%)
โรคของหลอดเลือดดำ
Varicose vein
Anatomy
Superficial
Deep
Perforating
มี Bicuspid valve ให้เลือดไหลจาก Superfical ไป Deep
Etiology
Primary varicose vein
เป็นผลมาจากincompetence ของone way valve ของ Superficial vein
Secondary varicose vein
เกิดจาก valvular incompetence ของ Perforating vein มักเป็นตามหลังDVT
Hemorrhoid
Esophagral varices
Thrombophlebitis
โรคหลอดเลือดหัวใจ
เส้นเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ
เส้นเลือดแดงโคโรนารี่ (Coronary artery)
มีรูเปิดอยู่ที่บริเวณโคนของเส้นเลือดเอออร์ตา
แบ่งเป็น 2 เส้น
เส้นเลือดแดงโคโรนารี่ด้านขวา
เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจด้านขวา และกล้ามเนื้อหัวใจด้านซ้ายล่าง
เส้นเลือดแดงโคโรนารี่ด้านซ้าย
เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจด้านซ้ายที่เหลือทั้งหมด
แขนงที่มาด้านหน้า เรียกว่า Left descending artery
แขนงที่อ้อมไปด้านหลัง เรียกว่า Left circumflex artery
ภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ
ทำให้เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอ
ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจได้รับออกซิเจนไม่สมดุลกับออกซิเจนที่ใช้
ST Elevation MI (กลุ่มกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด)
กลุ่มโรคที่มีกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และ ตายเฉียบพลัน ที่มีการเปลี่ยนแปลงกระแสไฟฟ้าหัวใจ ชนิดST-segmrnt elevationและมีผลเลือดที่บอกว่ากล้ามเนื้อหัวใจตายเพิ่ม
เกิดจากการมีลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือดทันที
การปวดจากหัวใจ(Angina Pectoris) เจ็บหรือแน่นหน้าอก
เพราะขาดเลือดไปเลี้ยงที่กล้ามเนื้อหัวใจ
อาการ
มีอาการปวดร้าวที่ไหล่ แขน มือซ้าย คอ คาง เป็นไม่กี่นาที เป็นชั่วคราว
หัวใจวาย (Heat attack)
เป็นการเสียหายของกล้ามเนื้อหัวใจอย่างถาวร จะมีอาการรุนแรง เหงื่อออก หมดแรง
ปวดหัวใจจากการขาดเลือด แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
แบบคงที่(Stable angina)
เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจมีตำแหน่งตีบตันทั่วไปอย่างคงที่
แบบไม่คงที่(Unstable angina)
เป็นภาวะที่เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจมีการตีบตันอยู่แต่อยู่ๆ เลือดก็ไม่ไหลผ่านไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ
สาเหตุ
ก้อนเลือดที่คั่งแข็งตัวจะมีขนาดใหญ่๘ึ้นจนเกิดการอุดตัน
และเจ็บหน้าอกมากหรือไม่ก็ข้ามขั้นตอนไปเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตายถ้าเส้นเลือดแดงตัน
เยื่อหัวใจอักเสบ(Endocarditis)
มีลักษณะเป็นก้อนยื่นจากผิว เรียก Vegetation
เกิดจากเชื้อโรคกระแสโลหิต เชื้อนี้จะไปจับตัวเป็นก้อนเลือดเล็กๆ เรียกว่า ก้อนเชื้อ (Vegetation)และเมื่อหลุดลอยเข้ากระแสโลหิต จะก่อให้เกดหลอดเลือดอุดตัน เกิดการอักเสบติดเชื้อ และเกิดฝีหนองขึ้นกับอวัยวะต่างๆทั่วร่างกาย
Non-infective Endocarditis
ไม่พบเชื้อ vegetation ในผู้ป่วยRHD
Infective Endocarditis
Subacute Bacterial Endocarditis
เกิดจากแบคทีเรียชนิดรุนแรงน้อย
มักเกิดกับผู้ที่มีความผิดปกติลิ้นหัวใจหรือหัวใจพิการแต่กำเนิด
เชื้อพบบ่อย Strep.viridans
Acute Bacterial Endocarditis
เกิดจากแบคทีเรียชนิดรุนแรง
มักเกิดกับหัวใจปกติ
เชื้อพบบ่อย Staph. aureus
ระบบไหลเวียนโลหิต (ปกติ)
หน้าที่
ขนส่งอาหารและออกซิเจนไปให้เซลล์และนำของเสียคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์ ขับออกนอกร่างกาย
รักษาสมดุลกรด - ด่าง
ควบคุมสภาพสมดุลขของของเหลวในร่างกาย
ควบคุมอุณหภูมิ
ช่วยลำเลียงฮอร์โมนและเอ็นไซม์ไปให้เซลล์
ป้องกันเชื้อโรคและสร้างภูมิคุ้มกันให้กับร่างกาย
แบ่งออกเป็น 2 ส่วน
วงจรไหลเวียนทั่วร่างกาย (systemic circulation)
วงจรไหลผ่านปอด (pulmonary circulation)
การไหลเวียนโลหิตแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ
หัวใจ
มี 4 ห้อง
ห้องบนขวา
ห้องล่างขวา
ห้องบนซ้าย
ห้องล่างซ้าย
มีลิ้นหัวใจ
ทำหน้าที่
เปิด - ปิด
เพื่อให้เลือดไหลเวียนไปในทิศทางเดียวกัน และไม่ไหลย้อนกลับ
หลอดเลือด มีเลือดบรรจุอยู่พร้อมทั้งกลไก การทำงาน
โรคของลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจตีบ (Stenotic valve)
ลิ้นหัวใจแคบลง/แข็ง/หนา/ติดกัน/กีดกั้น
ทำให้เลือดไหลไม่สะดวก
ประกอบด้วย
ลิ้นไมตรัลตีบ (Mitral stenosis)
เกิดจากการอักเสบเรื้อรังในห้องหัวใจ ภาบหลังจากการติดเชื้อGroup A Streptococcal ที่เรียกว่า Rheumatic heart disease
Acute rheumatic fever สามารถทำให้หัวใจอักเสบได้ทุกชั้น
ลิ้นไตรคัสปิดตีบ (Tricuspid stenosis)
เกิดจากกระบวนการสะสมแคลเซียมและเซลล์อักเสบที่ลิ้นหัวใจคลายกับกระบวนการ atherosclerosis พบบ่อยในผู้สูงอายุ
ลิ้นเอออร์ติคตีบ (Aortic stenosis)
ลิ้นพลูโมนิคตีบ(Pulmonic stenosis)
ลิ้นหัวใจรั่ว
ลิ้นหัวใจปิดไม่สนิททำให้เลือดไหลย้อนกลับ
มี 4 แบบ
Mitral regurgitation
Tricuspid regurgitation
Aortic regurgitation
Pulmonic regurgitation
โรคที่เกิดจากลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจเสื่อมสภาพตามวัย (Degenerative)
เกิดจากการที่ลิ้นหัวใจเสื่อมสภาพตามอายุ
ทำให้ลิ้นหัวใจผิดรูป เกิดการปิดไม่สนิททำให้เกิดอาการโรคลิ้นหัวใจรั่วได้
เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจตีบ
ทำให้เกิดการตายของกล้ามเนื้อ หัวในอ่อนแรง
เมื่อเป็นมากขึ้น อาจทำให้เป็นโรคลิ้นหัวใจรั่ว
สาเหตุของความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
โรครูห์มาติก (Rheumatic fever)
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจตั้งแต่กำเนิด
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจที่เกิดภายหลังเกิด
การติดเชื้ออื่นๆ ที่มีการทำลายลิ้นหัวใจ
Bacterial endocarditis
Atherosclerosis
Rheumatic Heart Disease
เป็นโรคหัวใจที่ไม่ได้มีมาแต่กำเนิด
มักพบในเด็กเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่แล้ว พบว่าเกิดลิ้นหัวใจพิการขึ้น เป็นสาเหตุของโรคลิ้นหัวใจพิการ (ตีบ/รั่ว)
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อคออักเสบ หรือ ต่อมทอมซิลอักเสบ
จากเชื้อ Beta- hemolytic Streptococcus
ร่างกายที่การตอบสนองต่อการติดเชื้อผิดปกติ
โดยร่างกายสร้างภูมิต้านทายขึ้นมาทำลายเชื้อ แต่ภูมิต้านทานกลับมาทำลายตัวเอง ทำให้เกิดดารอักเสบ
ผลที่ตามมา
จาการเกิดลิ้นหัวใจอักเสบ
คิอเกิดพังผืดเกาะยึดบริเวณลิ้นหัวใจ
ทำให้ลิ้นหัวใจแข็ง เปิดได้ไม่เต็มที่ หรือปิดไม่สนิท ทั้งตีบและรั่วในขณะเดียวกัน
Atherosclerosis
ตำแหน่งที่พบบ่อย
Abdominal aorta
พยาธิสภาพ
พบไขมันสะสมใน Tunica intima
เป็นแผ่นนูน (plaque)สีเหลืองเรียกว่า atheroma
สาเหตุ
อาหารและภาวะ Hypercholesterolemia
Hypertention
การสูบบุหรี่
เบาหวาน
Monckeberg medial calcific sclerosis
พบในหลอดเลือดขนาดกลาง
มีCalcification ชั้น Tunica media
พบบ่อยในผู้สูงอายุ
Buerger's disease Thromboangiitis Obliteran : TAO
ลักษณะของโรค
ไม่มีatheromas หรือเกิดน้อยมาก
มีการอักเสบของหลอดเลือดที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ
ลักษระอุดตันของหลอดเลือด
มักเกิดกับหลอดเลือดแดงขนาดเล็กหรือกลาง
เกิดกับหลอดเลือดดำของทั้งส่วนบนและส่วนล่าง
ลักษณะของของสัมพันธ์อย่างมากกับ
การสูบบุหรี่
การดำเนินของโรคจะแปรผันกับ การสูบบุหรี่อย่างต่อเนื่อง
อาการเฉพาะ
ปวดตำแหน่งในอวัยวะที่ขาดเลือดทั่วไป
เป็นแผลเรื้อรัง
นิ้วมือนิ้วเท้าเน่าตาย
อาจต้องตัดทิ้งบ่อยครั้ง
พบมากที่สุด คือ เกิดกับหลอดเลือดเท้า
สาเหตุ
การสูบบุหรี่/ได้รับควันบุหรี่เป็นสาเหตุสำคัญทั้งการเกิดโรคและการดำเนินโรค
พบมากในประเทศที่สูบบุหรี่จัด
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด (Congenital heart disease)
กลุ่มไม่มีอาการเขียว (Acyanotic)
1.Patent Ductus Arteriosus (PDA)
โรคหลอดเลือดหัวใจเกินผิดปกติระหว่างปอดและหัวใจ
เป็นความผิดปกติของหลอดเลือด ductus arteriosus ที่เชื่อมระหว่างหลอดเลือดแดงใหญ่และหลอดเลือดปอดที่เปิดอยู่หรือปิดไม่สนิท
สาเหตุ
เกิดจาก ductus arteriosus ไม่ปิดตามธรรมชาติ
คลอดก่อนกำหนด
ภาวะขาดออกซิเจนขณะคลอด
การติดหัดเยอรมันในระยะ 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์
2.Ventricular Septal Defect (VSD)
3.Atrial Septal Defect (ASD)
4.Coarctation of Aorta
ภาวะที่มีการตีบตันของ aorta
แบ่งเป็น 3 ชนิด
Preductal type
มีการตีบก่อนถึง ductus arteriosus
Ductal type
ส่วนที่ตีบจะอยู่ตรงกับส่วนต่อของ Ductus พอดี
Postductal type
มีการตีบใต้ต่อ ductus arteriosus
5.Pulmonary stenosis
6.Aortic Stenosis
กลุ่มที่มีอาการเขียว (Cyanotic)
1.Tetralogy of fallot (TOF)
Right ventricular Hypertrophy
Pulmonary Valve Stenosis
Overriding of aorta
Ventricular Septal Defect
2.Transposition of the great arteries (TGA)
ความผิดปกติที่ aorta ออกจาก ventricle ขวา
pulmonary artery ออกจาก ventricle ซ้าย
3.Pulmonary atresia
การที่ Pulmonary valve ตันหรือตีบมากจนเลือดผ่านไม่ได้
อาจเกิดร่วมกับความพิการของหัวใจ
4.Tricuspid atresia (TA)
ไม่มี Tricucpid valve ทำให้เลือดเข้าสู่ RV ไม่ได้
ทำให้เลือดออกจาก RA ต้อวผ้องผ่านASD แล้ว เข้าปอดทาง PDA หรือVSD
ถ้ามี transposition of great artery ร่วมด้วยจะมี CHF
Abdomianal Aortic Aneurysm (โรคหลอดเลือดแดงเอออร์ตาในช้องท้องโพ่งพอง)
ปัจจัยเสี่ยง
สูบบุหรี่
มีความดันโลหิตสูง
เพศชาย อายุเกิน 60 ปี
มีญาติสายตรงเป็นAAA : แม่/น้องชาย
อาการ
คลำชีพจรได้ในท้อง คล้ายหัวใจเต้น
คลำได้ก้อน เต้นได้ในท้อง
เจ็บท้องหรือหลังส่วนล่างอย่างรุนแรง ทันทีทันใด
ถ้าหลอดเลือดที่โป่งพอง ใกล้จะแตก
ปวดขา
ขาเปลี่ยนสี
เป็นแผล