Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะตั้งครรภ์ (ครรภ์แฝดน้ำ) - Coggle…
การพยาบาลสตรีที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะตั้งครรภ์ (ครรภ์แฝดน้ำ)
อาการและอาการแสดง
แน่นอึดอัดมาก เจ็บท้องแม้แต่นั่ง หายใจลำบาก ใจสั่น อาจมี คลื่นไส้ อาเจียน บวมที่ขา หน้าท้อง
การตั้งครรภ์แฝดน้ำ การตั้งครรภ์ที่มีจำนวนน้ำคร่ำมากกว่า 2,000 มิลลิลิตร
การตั้งครรภ์แฝดน้ำมี 2 แบบ คือ
แบบเฉียบพลัน(Acute hydramnios) มากภายใน 2-3 วัน เกิดเมื่ออายุครรภ์ประมาณ 20 สัปดาห์
แบบเรื้อรัง(Chronic hydramnios) น้ำคร่ำค่อยๆเพิ่มมากขึ้นใช้เวลานาน 2-3 สัปดาห์ขึ้นไป เกิดเมื่ออายุครรภ์ 28 สัปดาห์
สาเหตุ
ด้านมารดา โรคเบาหวานไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในกระแสเลือดได้
ด้านทารก
ความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลาง ความผิดปกติของหัวใจ ระบบทางเดินปัสสาวะ ทารกที่มีโครโมโซมผิดปกติ ทารกที่มีกระดูกสันหลังโหว่
การวินิจฉัย
การซักประวัติ ประวัติว่าเคยตั้งครรภ์แฝดน้ำหรือทารกมีความพิการแต่กำเนิดของระบบประสาทส่วนกลาง หรือเคยมีประวัติเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
การตรวจร่างกาย
หน้าท้อง
1)มดลูกมีขนาดใหญ่และระดับยอดมดลูกสูงกว่าระดับตามระยะระดูขาด
2)มดลูกมีรูปร่างกลม
3)คลำส่วนของทารกไม่พบหรือพบยาก
4)เสี่ยงการเต้นของหัวใจทารกฟังได้ไม่ชัดเจน
5) ตรวจได้ลักษณะเหมือนเป็นคลื่นน้ำทางหน้าท้อง
ช่องคลอด
1)คอมดลูกสีคลำ นุ่ม สั้น
2)อาจคลำพบถุงน้ำทูนหัวตึงโอ่งผ่านรูคอมดลูก
3)การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เครื่ิงคลื่นเสียงความถี่สูง
ภาวะแทรกซ้อนในการตั้งครรภ์แฝดน้ำ
มารดา
ระยะตั้งครรภ์
1)ความดันโลหิตสูงในระหว่างตั้งครรภ์
2)คลอดก่อนกำหนด
3)ศรีษะเด็กลอ
4)ความพิการของทารก
5)ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเจ็บครรภ์
6)รกลอกตัวก่อนกำหนด
ระยะคลอด
1)มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
2)สายสะดือย้อย
3)การคลอดยาก
ระยะหลังคลอด
1)ตกเลือดหลังคลอด
2)ติดเชื้อหลังคลอด
ทารก
2.1 ทารกคลอดก่อกำหนด
2.2 ทารกเจริญเติบโตในครรภ์ไม่ดี
การตั้งครรภ์น้ำคร่ำน้อย (Oligohydramnios) ปริมาณน้ำคร่ำน้อยกว่า 500 มิลลิลิตร
สาเหตุ
1.ความผิดปกติทางมารดา
1.1 ภาวะความดันโลหิตสูงในระหว่างตั้งครรภ์
1.2 เป็นโรคเบาหวานในขณะตั้งครรภ์
1.3 ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกําหนด
2.ความผิดปกติของรก ได้แก่ รกลอกตัวก่อนกําหนด รกเสื่อมสภาพ
3.ความผิดปกติของทารก
3.1 ทารกเจริญเติบโตได้ช้าในครรภ์
3.2 ความพิการแต่กำเนิด
3.3 ทารกเสียชีวิต
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติ ให้ประวัติมีน้ำเดินออกทางช่องคลอด
การตรวจร่างกายและหน้าท้อง จะคลำได้ส่วนของทารกได้ง่าย
การตรวจหน้าท้องปฏิบัติการ คลื่นเสียงความถี่สูง
ภาวะแทรกซ้อน
มดลูกหดบีบรัดตัวทารกได้มาก
การกดทับของมดลูกต่อทารกในครรภ์ อาจเกิดการกดทับที่สายสะดือ