Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบไหลเวียนเลือด - Coggle Diagram
ระบบไหลเวียนเลือด
โรคระบบไหลเวียนเลือด
-
โรคของลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจรั่ว Regurgitatate valve ปิดไม่สนิท เลือดไหลย้อนกลับ เมื่อหัวใจล่างซ้ายบีบตัวจะยังเหลือเลือดบางส่วนย้อนกลับไปห้องบนซ้ายผ่านลิ้นที่รั่ว
ลิ้นหัวใจเสื่อมสภาพตามวัย(Degenerative) พบในอายุ 40ขึ้นไป ความยืดหยุ่นหมดสภาพ ทำให้ลิ้นหัวใจผิดรูป ปิดเปิดไม่สนิทเกิดลิ้นหัวใจรั่วได้
เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจตีบ ทำให้กล้ามเนื้อตาย หัวใจอ่อนแรง เป็นมากอาจทำให้ลิ้นหัวใจรั่วได้ เกิดบกับคนอายุ 50-60 ปี
ลิ้นหัวใจรูมาติก (Rheumatic heart disease) ติดเชื้อในลำคอ เกิดการสร้างภูมิต้านทาน มีการทำลายเนื้อเยื่อ รวมลิ้นหัวใจด้วย เมื่อถูกทำลายจะมีพังผืดและหินปูนเกาะ ลิ้นหัวใจจะปิดเปิดไม่ดี ทำงานหนักขึ้น
Rheumatic heart disease ไม่ได้เป็นมาแต่กำเนิด พบในเด็กบางครั้งอาการไม่ชัดเจน เมื่อโตพบว่าเกิดลิ้นหัวใจพิการ จัดเป็นสาเหตุลิ้นหัวใจพิการ(ตีบ รั่ว) พบบ่อยที่สุด
สาเหตุ
-
ร่างกายตอบสนองเชื้อผิดปกติ สร้างภูมิทำลายเชื้อ แต่ภูมิกลับมาทำร้ายตัวเอง เกิดการอักเสบอวัยวะหลายระบบ
Aortic Regurgitation ลิ้นหัวใจเอออร์ติกรั่ว,Pulmonary Regurgitationลิ้นหัวใจพัลโมนารีรั่ว, Mitral Regurgitation ลิ้นหัวใจไมตรัลรั่ว,Tricuspid Regurgitation ลิ้นหัวใจไตรคัสปิดรั่ว
ลิ้นหัวใจตีบ stenotic ลิ้นหัวใจแคบลง แข็ง หนา ติดกัน กีดกั้น เลือดไหลไม่สะดวก เปิดไม่เต็มที่ เลือดไหลออกไม่สะดวก
-
-
-
-
สาเหตุ โรคไข้รูมาติก rheumatic fever ผิดปกติแต่กำเนิดและเกิดขึ้นภายหลัง ติดเชื้ออื่นๆ เช่น Bacterial endocarditis Atherosclerosis
โรคหลอดเลือดหัวใจ ภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่พอ กล้ามเนื้อหัวใจได้รับออกซิเจนไม่สมดุลกับที่ใช้
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิด ST Elevation MI(ST-segment elevation myocardial infarction, STEMI)โรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย ชนิดหลอดเลือดหัวใจอุดตันเฉียบพลัน มีการเปลี่ยนแปลงทางคลื่นไฟฟ้าหัวใจชนิด ST-segment elevation มีผลเลือดที่บอกว่ากล้ามเนื้อหัวใจตายเพิ่ม มักจะเกิดจากมีลิ่มเลือดอุดตันทันทีการวินิจฉัยที่รวดเร็วและการรักษาจะลดอัตราการเสียชีวิต
ปวด Angina Pectoris จากใจหรือแน่หน้าอก เพราะขาดเลือดไปเลี้ยง ปวดร้าวที่ไหล่ แขนมือซ้าย คอคาง เป็นไม่กี่นาที ชั่วคราว
คงที่(Stable angina) เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจมีตำแหน่งตีบตันคงที่ เลือดไหลไปเลี้ยงเพียงพอ ถ้านั่งพักหรือหัวใจเต้นช้า ถ้าเริ่มทำงานใจเต้นเร็ว เลือดจะไปเลี้ยงไม่พอ เกิดเวลาใช้กำลัง เครียด ตื่นเต้น โดยไม่เลยไปเป็นกล้ามเนื้อหัวใจตาย(Heart attack)
ไม่คงที่(Unstable angina) เส้นเลือดตีบตัน อยู่ๆเลือดไม่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ เกิดได้ทั้งพักและใช้กำลัง เจ็บหน้าอกรุนแรง ทั้งที่ไม่เคยเจ็บ อันตรายอาจเลยเป็นหัวใจขาดเลือด
สาเหตุ
เกิดรอยแตกที่คราบไขมัน พอกผนังเส้นเลือดแดงอยู่เมื่อเกิดรอยแยกร่างกายจะตอบสนอง คือ เม็อดเลือดขาวมาคุมจนเกิโปฏิกิริยาการอักเสบ มีการคั่งแข็.ตัวของเลือดใกล้ๆคราบที่แตกนั้น เลือดที่คั่งจะก้อนใหญ่ขึ้นจนเกิดการอุดตัน เจ็บหน้าอกมาก หรือ เกิดกล้ามเนื้อหัวใจตายถ้าเส้นเลือดตัน
-
-
Atherosclerosis ภาวะหลอดเลือดแดงแข็งภาวะที่ผนังของหลอดเลือดแดงเกิดการหนาตัวและมีลักษณะ
แข็งมากขึ้นพบบ
พบบ่อยและสำคัญที่สุด ตน.ที่พบ Abdominal aorta พบไขมันสะสมใน Tunica intima เห็นเป็นแผ่นนูน(Plaque) สีเหลืองเรียก atheroma (ก้อนไขมันนี้เกิดจากคอเลสเตอรอลและของเสียอื่น ๆ)
-
Monckeberg medial calcific sclerosis การที่ผนังของหลอดเลือดแดงมีความแข็งเพิ่มมากขึ้นจากการสะสมหินปูนชนิดDystrophic calcification ในผนังชั้นกลาง Tunica media ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากการเสื่อมสภาพตามวัย(Age-related degeneration)พบในผู้สูงอายุ
Buerger's disease Thromboangiitis obliterans:TAO เป็นความผิดปกติของหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดำบริเวณแขนและขา ทำให้เกิดการอักเสบ บวม และอุดตันของหลอดเลือด หากอาการรุนแรงอาจนำไปสู่การติดเชื้อและเนื้อตายเน่า (Gangrene)
ไม่มี atheromas(การเกาะกลุ่มกันของไขมันที่ผนังของหลอดเลือดแดง ทำให้เกิดการตีบแคบลงของผนังหลอดเลือด) เกิดน้อย มีการอักเสบแต่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ ลักษณะการอุดตัน เกิดกับหลอดเลือดแดงขนาดเล็กหรือกลาง หลอดเลือดดำส่วนบนและล่าง
-
-
Aneurysm (หลอดเลือดแดงโป่ง) เฉพาะที่(localized)เป็นถาวรมี 2 ชนิด True โป่งพองทุกชั้น False โป่งพองเฉพาะบางชั้น
ชนิด
Saccular aneurysmเป็นการโป่งพองของผนงหลอดเลือดออกมาเพียงดานใดด้านหนึ่ง โป่งพองตามแนว Tangential of axis
-
Fusiform aneurysm โป่งพองตามแนว axis of vessel พบที่ส่วนต่างๆของ thoracic aorta และอาจลุกลามมาถึง abdominal aorta ดวย
-
ตน.ที่มักพบโรค 95%สัมพันธ์กับโรค atherosclerosis ภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง iliac artery, femoral artery, popiliteal artery,
sphenic artery, hepatic artery, mesenteric atery,น้อยกว่า 1%
โรคของหลอดเลือดดำ
Thrombophlebitis
การอักเสบของผนังหลอดเลือดดำร่วมกับมีธรอมบัสภายในหลอดเลือดโดย เกาะติดที่ผนังด้านในของหลอดเลือดอาจทำให้เกิดการอุดตันได้อันตรายที่สำคัญของ Thrombophlebitis คือ การเกิดลิ่มเลือดหลุดลอยไปตามกระแสเลือด (Embolization) ไปอุดตันหลอดเลือดขนาดเล็ก ๆ ไปสู่อวัยวะสำคัญ
-
-
-
แบ่งเป็น 2 ส่วน
-
ไหลเวียนผ่านปอด(pulmonary circulation) ส่งเลือดเข้า RA เทลงRV ส่งไปปอด และกลับเข้าLA ใหม่ เรียกวงจรเล็ก
-
หน้าที่
ขนส่งอาหารและออกซิเจนไปให้เซลล์ นำคาร์บอนไดออกไซด์ออกนอกร่างกาย รักษาสมดุลกรดด่าง ควบคุมสมดุลของเหลว คุมอุณหภูมิ ช่วยลำเลียงฮอร์โมนและเอ็นไซม์ให้เซลล์ ป้องกันเชื้อโรคและสร้างภูมิคุ้มกัน