Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคระบบไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
โรคระบบไหลเวียนโลหิต
โรคของลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจตีบ
ลิ้นหัวใจรั่ว
ลิ้นหัวใจตีบ(Stenotic valve)
ลิ้นหัวใจแคบลง/แข็ง/ติดกัน/กีดกัน
ทำให้เลือดไหลไม่สะดวก
ลิ้นหัวใจตีบ
ลิ้นไมตรัลตีบMitral Stenosis
ลิ้นไตรคัสปิดตีบ Tricuspid Stenosis
ลิ้นเอออร์คิตตีบ Aortic Stenosis
ลิ้นพูลโมนิคตีบ Pulmonic Stenosis
Mitral Stenosis
ส่วนใหญ่เกิดจากการอักเสบเรื้อรังในห้องหัวใจภายหลังการติดเชื้อ
Aortic Stenosis
เป็นภาวะที่พบบ่อยโดยมากเกิดจากกระบวนการสะสมของแคลเซียมและเซลล์อักเสบที่ลิ้นหัวใจคล้ายคลึงกับกระบวนการ Atherosclerosis พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ
ลิ้นหัวใจรั่ว Regurgittate valve
ลิ้นหัวใจรั่วเกิดจากลิ้นหัวใจที่ปิดไม่สนิท
โรคที่เกิดจากลิ้นหัวใจรั่ว
ลิ้นหัวใจเสื่อมสภาพตามวัย Degenerative ส่วนใหญ่พบในคนที่อายุ 40 ปี ขึ้นไปเนื่องจากความยืดหยุ่นของเนื้อเยื่อที่เสื่อมสภาพไป
ทำให้ลิ้นหัวใจผิดรูป เกิดการเปิด-ปิดที่ไม่สนิททำให้เกิดอาการโรคลิ้นหัวใจรั่วได้
สาเหตุของความปิดปกติของลิ้นหัวใจ
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจแต่กำเนิด
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจที่เกิดภายหลังเกิด
การติดเชื้ออื่นๆ ที่มีการทำลายลิ้นหัวใจ
- ระบบไหลเวียนโลหิตแบ่งออกเป็น2ส่วน
วงจรไหลเวียนเลือดทั่วร่างกาย
(Systemic circulation)
เลือดไหลเวียนออกจาก LV ไปสู่ส่วนต่างๆของร่างกายและกลับเข้ามาที่ RA
วงจรนี้ทำงานกว้างขวาง เรียกว่า วงจรใหญ่
(Greater Circulation)
2วงจรไหลเวียนผ่านปอด (Pulmonary Circulation )
เลือดที่ไหลจะส่งมาที่ RA และเข้าลงสู่ RV และส่งไปใหม่ที่ปอด หลังจากนั้นจะกลับเข้าไปที่ LA
การไหลเวียนของวงจรนี้ทำงานน้อยกว่าเรียกว่า (Lesser Circulation)
แบ่งออกเป็น 2 ส่วน
หัวใจ พร้อมทำงานโดยละเอียด
หลอดเลือด มีเลือดบรรจุอยู่พร้อมทั้งกลไก การทำงาน
หน้าที่ของหัวใจ
หัวใจมี 4 ห้อง แบ่งเป็น
ซีกซ้าย/ซีกขวา แต่ละซีก ประกอบด้วยหัวใจห้องบน และหัวใจห้องล่าง
ระหว่างห้องบนกับห้องล่างมีลิ้นหัวใจ
ทำหน้าที่เปิด-ปิด
เพื่อให้เลือดไหลไปทิศทางเดียวกัน และไม่ไหลย้อนกลับ
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด (Congenital Heart disease )
กลุ่มที่ไม่มีอาการเขียว (Acyanotic)
กลุ่มที่มีอาการเขียว (Cyanotic)
กลุ่มที่ไม่มีอาการเขียว (Acyanotic)
patent Ductus Arteriosus (PDA)
Ventricular Septal Defect (VSD)
Atrial Septal Defect (ASD)
Coarctaion of aorta
Pulmonary Stenosis
Aortic Stenosis
patent Ductus Arteriosus (PDA)
โรคหลอดเลือดหัวใจเกินผิดปกติระหว่างปอด และหัวใจ เป็นความผิดปกติของหลอดเลือด Ductus arteriosus ที่เชื่อมระหว่างหลอดเลือด
Ventricular Septal Defect (VSD)
-สาเหตุ
เกิดจากสภาวะที่คลอดก่อนกำหนด ภาวะขาดออกซิเจนขณะคลอดก่อนกำหนด หรือติดหัดเยอรมันในระยะ 3 เดือน
กลุ่มที่ไม่มีอาการเขียว ( Acyanotic )
Ventricular Septal Defect (VSD)
Atrial Septal Defect (ASD)
Coarctation of Aorta
ภาวะที่มีการตีบตันของ Aorta ส่วนใหญ่เกิดจาก Aortic isthmus ใต้ Left Subclavian Artery แบ่งออกเป็น 3 ชนิด
Preductal Type มีการตึงตีบอาจเสียชีวิตได้
Ductal Type ส่วนที่ตีบตันอยู่ตรงกับส่วนต่อส่วนของ Ductus พอดี
Postductal Type มีการตีบใต้ต่อ ductus arteriosusโดยทั่วไปแล้วกลุ่มนี้จะมีชีวิตโตจนเป็นผู้ใหญ่ได้
กลุ่มที่ไม่มีอาการเขียว (Acyanotic)
Coarctation of aorta
Pulmonary stenosis
Aortic Stenosis
กลุ่มที่มีอาการเขียว (Cyanotic)
Teralogy of Fallot (TOF)
Transposition of the great
Pulamonary atresia
-Tricuspid atresia
Pulmonary atresia
อาจเกิดการความพิการของหัวใจอย่างอื่น
Tricuspid atresia
ไม่มี Tricucpid valve ทำให้เลือดเข้าสู่ Rv ไม่ได้
ทำให้เลือดจากRAต้องผ่านASDแล้วเข้าปอดทางPDAหรือVSD
ถ้ามี Transposition of great artery
โรคหลอดเลือดหัวใจ
เส้นเลือดที่เลี้ยงหัวใจ
เรียกว่าเส้นเลือดแดงโคโรนารี่ (Coronary artery)
มีรูเปิดอยู่บริเวณโคนของเส้นเลือดแดง เอออร์ตาแบ่งออกเป็น 2 เส้น คือเส้นเลือดแดงโคโรนารี่ด้านขวา และ เส้นเลือดแดงโคโรนารี่ด้านซ้าย
โรคหลอดเลือดหัวใจ
ภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ
ทำให้เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอต่อความต้องการ
ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจรับ Oxygen ไม่สมดุลกับ Oxygen ที่ใช้
การปวด(Angina Pectoris)
เจ็บหน้าอกทำให้ขาดเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจที่มี อาการปวดร้าวไปที่ไหล่ แขน/มือซ้าย คอ คาง เป็นอยู๋ไม่กี่นาที เป็นชั่วคราว
หัวใจวาย Heart attack
เป็นการเสียหายของกล้ามเนื้อหัวใจอย่างถาวร จะมีอาการรุนแรงมากเหงื่อออกหมดแรง
ปวดหัวใจจากการขาดเลือดแบ่งเป็น2กลุ่ม
แบบคงที่ (Stable angina)
เส้นเลือดมีการไปเลี้ยงหัวใจส่วนที่ตีบตันทั่วไปอย่างคงที่และมีเลือดไหลผ่านไปเลี้ยงกล้ามเนื้อ
แบบไม่คงที่
เป็นภาวะที่เส้นเลือดหัวใจมีการตีบตันอยู่ เลือดไม่ไหลผ่านไปเลี้ยงกล้ามเนื้อของหัวใจ เกิดได้จากการนั่งพัก นอนพัก หรือขณะใช้ร่างกาย หรือการนอนหลับ
Rheumatic Heart Disease
เป็นโรคหัวใจที่ไม่ได้เป็นมาแต่กำเนิด
มักพบในเด็กที่บางครั้งเด็กไม่มีอาการที่ชัด
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อคออักเสบ หรือ ต่อมทอลซิลอักเสบ จากเชื้อโรค Beta-Hemolytic
ผลที่ตามมา
จากการเกิดลิ้นหัวใจอักเสบคือการเกิดผังผืดเกาะยึดบริเวณที่ลิ้นหัวใจ (Fibrosis)
ทำให้เกิดลิ้นหัวใจเเข็ง เปิดได้ไม่เต็มที่ (ลิ้นหัวใจตีบ) หรือ ปิดไม่สนิทอาจจะเป็นลิ้นเดียวหรือหลายลิ้น
Endocarditis(เยื่อบุหัวใจอักเสบ)
,มักมีลักษณะเเป็นก้อนยื่นจากผิวเรียกว่า Vegetation
สาเหตุAthrosclerosis
อาหารและภาวะHypercholesterolemia
Hypertention
การสูบบุหรี่
เบาหวาน
Buerger's Disease : TAO
ลักษณะของโรค
ไม่มี Atheromas หรือ เกิดน้อยมาก
มีการอักเสบของหลอดเลือดที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ
ลักษณะการอุดตนของหลอดเลือด
โรคหลอดเลือดแดงเอออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
ปัจจัยเสี่ยง
สูบบุหรี่
มีความดันโลหิตสูง
เพศชายอายุเกิน60ปี
อาการแสดง
อาจไม่มีอาการที่ผิดปกติ
คลำชีพจรได้ในท้อง คล้ายหัวใจ
เจ็บท้องหรือหลังส่วนล่วงรุนแรง
โรคหลอดเลือดดำ
Varicose vein
Thrombophlebitis
Phlebothrombosis
หน้าที่ของระบบไหลเวียนโลหิต
ขนส่งอาหารและออกซิเจนไปให้เซลล์และนำของเสียคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์เพื่อขับถ่ายออกนอกร่างกาย
รักษาความสมดุลของกรดด่างในร่างกาย
ควบคุมสภาพสมดุลของเหลวภายในร่างกาย
ควบคุมอุณหภูมิในร่างกาย