Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบไหลเวียนเลือด - Coggle Diagram
ระบบไหลเวียนเลือด
โรคหลอดเลือดหัวใจหรือโรคหัวใจขาดเลือด
ST Elevation MI
กลุ่มโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดและตายเฉียบพลัน ที่มีการเปลี่ยนแปลงคลื่นไฟฟ้าหัวใจชนิด ST-segment elevationและมีผลเลือดที่บอกว่ากล้ามเนื้อหัวใจจายเพิ่ม การวินิจฉัยที่รวดเร็วลดอัตราการเสียชีวิต
การปวด เจ็บหรือแน่นหน้าอก ปวดร้าวที่ไหล่ แขน/มือซ้าย คอ คาง เป็นชั่วคราว
ภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบทำให้เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่พอ ทำให้ออกซิเจนไม่สมดุลกับที่ใช้
หัวใจวาย กล้ามเนื้อหัวใจเสียหายอย่างถาวร มีอาการรุนแรง เหงื่อออก หมดแรง
เส้นเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ
เส้นเลือดแดงโคโรนารี่ด้านขวา เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจด้านขวาและด้านซ้ายส่วนล่าง
เส้นเลือดแดงโคโรนารี่ด้านซ้าย เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจด้านซ้ายและที่เหลือทั้งหมดแตกออกเป็น 2 แขนง
ด้านหน้า Left anterior descending artery
ด้านหลัง Left circumflex artery
ปวดหัวใจจากการขาดเลือดแบ่งเป็น
แบบคงที่
เส้นเลือดหัวใจมีตำแหน่งตีบตันอย่างคงที่และมีเลือดไหลผ่านไปเลี้ยงหัวใจอย่างเพียงพอ ถ้าคนๆนั้นกำลังพักหรือหัวใจเต้นช้าๆ
หัวใจจะเต้นเร็วขึ้นเวลามีการใช้กำลังกายหรือมีความเครียด/ตื่นเต้น
แบบไม่คงที่
เลือดไม่ไหลผ่านไปเลี้ยงหัวใจแม้ว่าจะอยู่ในขณะพัก
อาการเจ็บหน้าอกปานกลางถึงรุนแรงอาจเกิดทั้งๆที่ไม่เคยเป็นมาก่อน อันตรายอาจทำให้เกิดหัวใจวายได้
สาเหตุ
เกิดรอยแตกที่คราบไขมัน ทำให้เกิดการอักเสบและมีการแข็งตัวของเลือดบริเวณนั้น
ก้อนเลือดที่แข็งตัวที่ขนาดใหญ่จนเกิดการอุดตัน
เจ็บหน้าอกมากหรืออาจจะเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตาย
หน้าที่ของระบบไหลเวียนโลหิต
รักษาสมดุลย์กรดด่างในร่างกาย
ควบคุมอุณหภูมิร่างกาย
ขนส่งอาหารและออกซิเจนไปให้เซลล์และนำของเสียออกจากเซลล์ไปนอกร่างกาย
ป้องกันเชื้อโรคและสร้างภูมิคุ้มกัน
สาเหตุความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจแต่กำเนิด
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจที่เกิดขึ้นภายหลัง การติดเชื้ออื่นๆที่มีการทำลายลิ้นหัวใจ
โรครูห์มาติก(Rhumatic fever)
เยื่อบุหัวใจอักเสบ(Endocardiis)
Non-infective Endocarditis ไม่พบเชื้อในvegetationในผู้ป่วย RHD
Infective Endocarditis
Subacute Bacterial Endocarditis
เกิดจากแบคทีเรียชนิดรุนแรงน้อย
มักเกิดกับผู้มีความผิดปกติลิ้นหัวใจ เชื้อพบบ่อย Strep.viridans
Acute bacterial Endocarditis
เกิดจากแบคทีเรียชนิดรุนแรง
เกิดกับหัวใจปกติ เชื้อที่พบ Staph.aureus
มีลักษณะเป็นก้อนยื่นจากผิวเรียก Vegetation เกิดจากเชื้อโรคในกระแสโลหิต ก่อให้เกิดการอักเสบ เกิดฝีหนองในอวัยวะต่างๆ
Atherosclerosis ภาวะหลอดเลือดแข็ง
เห็นแผ่นนูนสีเหลืองเรียก atheroma
สาเหตุ
อาหารและภาวะ Hypercholesterolemia
Hypertention
การสูบบุหรี่
เบาหวาน
พบบ่อยคือ Abdominal aorts พบไขมันสะสมใน Tunica intima
Monckeberg medial calcific sclerosis
มี calcification ชั้นTunica media
พบบ่อยในผู้สูงอายุ
พบในหลอดเลือดขนาดเล็ก
Buerger's disease: TAO
อาการเฉพาะ
ปวดในตำแหน่งอวัยวะที่ขาดเลือด เช่นแขน ขาขณะพัก
เป็นแผลเรื้อรัง นิ้วมือนิ้วเท้าเน่าตาย
สาเหตุ
ยังไม่รู้แน่ชัด
การสูบบุหรี่/ได้รับควัน พบมากในประเทศที่สูบบุหรี่จัด
ลักษณะของโรค
การอุดตันมักเกิดกับหลอดเลืองแดงขนาดเล็กหรือกลาง หลอดเลือดดำทั้งส่วนบนและส่วนล่าง
ลักษณะของโรคสัมพันธ์กับการสูบบุหรี่
มีการอักเสบของหลอดเลือดที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ
หลอดเลือดแดงโป่งพอง (Aneuysm)
ชนิดของ aneurysm
Fusiformaneurysm การโป่งพองตามแนว axis of vessel
Saccularaneurysm การโป่งพองตามแนว tangential of axis
Dissecting aneurysm การโป่งพองทที่มีการแยก ชั้น intima ออกจากผนังของหลอดเลือด
สาเหตุ
ความแข็งแรงของผนังหลอดเลือดลดลงทำให้หลอดเลือดโป่งออกมา
การโป่งพองของหลอดเลือดเฉพาะที่และเป็นอย่างถาวร
True การโป่งพองทุกชั้นของหลอดเลือด
False การโป่งพองเฉพาะบางชั้นของหลอดเลือด
โรคของหลอดเลือดดำ
Thrombophlebitis
Phlebothrombosis
Varicose vein
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด (Congenital heart disease)
กลุ่มที่ไม่มีอาการเขียว (Acyanotic)
Atrial Septal Defect (ASD)
Coarctation of aorta
ภาวะที่มีการตีบตันของ aorta แบ่งเป็น
Ductal type ส่วนที่ตีบจะอยู่ตรงกับส่วนต่อของ Ductus พอดี
Postductal type มีการตีบใต้ต่อ ductus arteriosus กลุ่มนี้จะมีชีวิตจนเป็นผู้ใหญ่
Preductal type มีการตีบตันก่อนถึง ductus arterious มักเสียชีวิตแต่เล็ก
Ventricular Septal Defect (VSD)
Pulmonary Stenosis
Patent Ductus Arteriosus (PDA)
สาเหตุ
เกิดจาก ductus arteriosus ไม่ปิดตามธรรมชาติ
ภาวะคลอดก่อนกำหนด ภาวะขาดออกซิเจนขณะคลอดหรือการติดหัดเยอรมันในระยะ 3 เดือนแรก
โรคหลอดเลือดหัวใจเกินผิดปกติระหว่างปอดและหัวใจ เป็นความผิดปกติของหลอดเลือด ductus arteriosus เปิดอยู่หรือปิดไม่สนิท
Aoriic stenosis
กลุ่มที่มีอาการเขียว (Cyanotic)
Transposition of the great arteries (TGA)
ความผิดปกติที่ aorta ออกจาก ventricle ขวาและ pulmonary artery ออกจาก ventricle ซ้าย
Pulmonary atresia
Pulmonary valve ตันหรือตีบมากจนเลือดผ่านไม่ได้
อาจเกิดร่วมกับความพิการทางหัวใจ
Tetralogy of fallot(TOF)
4 ความผิดปกติทางกายวิภาค
Overriding of aorta
Ventricular Septal Defect รูรั่วผนังกั้นหัวใจห้องล่าง
Pulmonary Valve Stenosis ลิ้นหัวใจหลอดเลือดแดงปอดตีบแคบ
Right Ventricular Hypertrophy ภาวะหัวใจห้องล่างซ้ายโตเกิน
Tricuspid atresia
ไม่มี Tricucpid valve ทำให้เลือดเข้าสู่ RV ไม่ได้
ทำให้เลือดจาก RA ต้องผ่าน ASD แล้วเข้าปอดทาง PDA หรือ VSD
ถ้ามี transposition of great artery ร่วมด้วยจะมี CHF
ระบบไหลเวียนระบบไหลเวียนโลหิต
วงจรไหลเวียนทั่วร่างกาย(systemic circulation) เลือดออกจาก LR ไปสู่ส่วนต่างๆของร่างกายแล้วกลับ RA เรียกวงจรนี้ว่าวงจรใหญ่
วงจรไหลเวียนผ่านปอด (Pulmonary circulation) เลือดส่งมา RA จะเทลงสู่ RV แล้วส่งไปยังปอดจากนั้นกลับมา LA ใหม่การไหลเวียนนี้เรียกว่าวงจรเล็ก
โรคของลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจตีบ(Stenoticvalve)
ลิ้นไตรคัสปิดตีบ (Tricuspid stenosis)
ลิ้นเอออร์ติคตีบ(Aortic stenosis)
เป็นภาวะที่พบบ่อย เกิดจากกระบวนการสะสมของแคลเซียมและเซลล์ อักเสบที่ลิ้นหัวใจ พบบ่อยในผู้สูงอายุ
ลิ้นไมตรัสตีบ(Mitral stenosis)
Acute rheumatic fever สามารถทำให้หัวใจอักเสบได้ทุกชั้น เรียกรวมว่าเกิด Rheumatic carditis
ส่วนใหญ่เกิดจากการอักเสบเรื้อรังในห้องหัวใจภายหลังการติดเชื้อ เรียกว่า Rheumatic heart disease
ผลที่ตามมา RHD
ลิ้นหัวใจอักเสบทำให้เกิดพังผืดยึดเกาะลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจแข็งเปิดได้ไม่เต็มที่หรือปิดไม่สนิท ตีบหรือรั่ว อาจจะเป็นลิ้นเดียวหรือหลายลิ้นก็ได้
สาเหตุ
ร่างกายตอบสนองต่อเชื้อผิดปกติ
ร่างกายสร้างภูมิต้านทานแต่ภูมิต้านทานกลับทำลายตัวเอง ทำให้เกิดการอักเสบของอวัยวะหลายระบบ
โรคหัวใจที่ไม่ไดเป็นมาแต่เกิด ในเด็กไม่มีอาการชัดเจน เมื่อเป็นผู้ใหญ่จึงพบว่าหัวใจพิการ
ลิ้นพลูโมนิคตีบ(Pulmonic stenosis)
ลิ้นหัวใจรั่ว(Regurgitate valve)
ลิ้นหัวใจเสื่อมสภาพตามวัย(Dehenerative)
ทำให้ลิ้นหัวใจผิดรูป การเปิด-ปิดไม่สนิท เกิดอาการโรคลิ้นหัวใจรั่วได้
เกิดจากลิ้นหัวใจเสื่อมสภาพตามอายุ พบในคนอายุ 40 ขึ้นไป
เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจตีบ
เกิดการตายของกล้ามเนื้อ หัวใจจะอ่อนแรง
เมื่อเป็นมากอาจทำให้เป็นโรคลิ้นหัวใจรั่ว เกิดกับคนอายุ 50-60 ปี
ลิ้นหัวใจรูมาติก(Rheumatic hear disease)
เมื่อลิ้นหัวใจถูกทำลายจะมีพังผืดและหินปูนเกาะทำให้เปิด-ปิดไม่ดี หัวใจจึงทำงานหนักกว่าปกติ
เกิดจากการติดเชื้อในลำคอหรือผิวหนัง ทำให้เกิดการสร้างภูมิคุ้มต้านทานทำลายเนื้อเยื่อรวมทั้งลิ้นหัวใจ
เปรียบเทียบความผิดปกติ
ลิ้นหัวใจที่รั่ว
ปิดไม่สนิท
เลือดไหล
ลิ้นหัวใจตีบ
เปิดไม่เต็มที่
เลือดไหลออก
Abdominal Aortic Aneurysm โรคหลอดเลือดแดงเอออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
ปัจจัยเสี่ยง
มีความดันโลหิตสูง
เพศชายอายุเกิน 60 ปี
สูบบุหรี่
มีญาติสายตรงเป็น AAA:แม่/น้องชาย
อาการแสดง
เจ็บท้องหรือหลังอย่างรุนแรง
ถ้าหลอดเลือดโป่งพองใกล้จะแตก ผู้ป่วยอาจปวดขา ขาเปลี่ยนสี เป็นแผล
คลำได้ก้อน เต้นได้ในท้อง
คลำชีพจรในท้องคล้ายหัวใจเต้น