Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเงินการคลังสุขภาพ(Health Care Finacing) - Coggle Diagram
การเงินการคลังสุขภาพ(Health Care Finacing)
แนวคิดทางการเงินการคลังในระบบสุขภาพ
กระบวนการสนับสนุนด้านการเงินให้กับสถานบริการสาธารณสุข(Process of funding heaith service) เพื่อใช้ตามพันธกิจหลักและพันธกิจรอง
โดยมีเป้าหมาย (Gold) คือ สถานะสุขภาพของประชาชนดีขึ้นสูงสุด (Maximise health) อย่างถ้วนหน้า (health for all)
เป้าหมายของการคลังสุขภาพ
1.ทำให้มีเงินเพียงพอในการจัดบริการสุขภาพ
ประเทศยากจน
จะหางานจากไหนในการจัดบริการ
ประเทศปานกลาง
จะทำอย่างไรจึงจะมีหลักประกันสุขภาพครอบคลุม
ประเทศร่ำรวย
จะควบคุมค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นได้อย่างไร
2.จัดระบบกลไกลให้ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด
การเลือกซื้อบริการ
จะเลือกซื้อบริการอะไร
การจ่ายค่าบริการ
เพื่อให้ผู้บริการมีเเรงจูงใจในการใช้บริการ
มีประสิทธิภาพในการบริการสูง
3.ให้ประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพเท่าเทียมกัน
จ่ายเงินอย่างไรให้ประชาชนได้รับบริการเท่าเทียมกัน
แหล่งการเงินการคลังในระบบบริการสาธารณสุข
หน่วยบริการสุขภาพ
แหล่งการเงินจากภาคเอกชน
แหล่งการคลังอื่น ๆ
แหล่งการเงินจากภาครัฐ
ข้อดีเเละข้อเสียแหล่งการเงินการคลังในระบบบริการสาธารณสุข
แหล่งเงินจากภาครัฐ
-ขาดเสถียรภาพง่ายขึ้นอยู่กับวิกฤต
-หาบริการอื่นทดแทนได้
แหล่งการคลังอื่นๆ
-ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับสภาพความรุนเเรงของปัญหาภายในประเทศ
แหล่งการเงินจากภาคเอกชน
-มีเสถียรภาพมากได้จากการเก็บภาษี(Taxation) -ขึ้นกับนโยบายทางการเมือง
สภาพปัญหาการคลังในระบบบริการสาธารณสุข
แหล่งเงินจากภาครัฐ
ประเทศไทยมีระบบประกันสุขภาพ 3 ระบบ ซึ่งอยู่ภายใต้ 3 กระทรวงหลัก
กระทรวงการคลัง
กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงเเรงงาน
สภาพปัญหา
เกิดความซ้ำซ้อนในการบริหารจัดการ
การลดหลั่นของสิทธิประโยชน์
ภาระเบี้ยประกัน
การจัดการบริหารด้านการเงินการคลัง
ปัญหาระหว่างผู้เอาประกัน และผู้ให้บริการ
ผู้เอาประกัน
กลุ่มเสี่ยงซื้อประกันมาก
จริยธรรมกาใช้บริการ
องค์ประกัน
คัดเลือกกลุ่มเสี่ยง
ผู้ให้บริการ
จริยธรรมการให้บริการ
การให้บริการเกินความจำเป็น
การให้บริการต่ำกว่าที่ควรจะเป็น
ความไม่สมมาตรของข้อมูล
กรณีที่มีความไม่สมบูรณ์ของข้อมูล กล่าวคือ ข้อมูลที่ผู้มีส่วนร่วมได้ส่วนเสียในตลาดเเต่ละฝ่ายมีนั้นไม่เท่ากัน
Moral hazard
1.ปัญหาMoral hazard คือ หลังจากผู้เอาประกันทำสัญญาประกันเเล้ว มีพฤติกรรมเปลี่ยนไป เพราะเกิดความรู้สึกว่า ฉันจะทำอะไรก้ได้ เดี๋ยวประกันก็มาจ่าย
Adverse selection
2.ปัญหาAdverse selection กลุ่มหนึ่งมีความเสี่ยงสูง อีกกลุ่มหนึ่งมีความเสี่ยงต่ำ และผู้เอาประกันทั้งสองกลุ่มต่างรู้ดีแก่ใจว่าตนอยู่ในกลุ่มไหน แต่บริษัทประกันไม่ทราบ เพราะไม่สามารถประเมินความเเตกต่างจากภายนอกได้
องค์ประกอบในระบบประกันสุขภาพ
ประชาชน/ผู้ป่วย
ผู้ให้บริการ
กองทุน
รัฐ/องค์กรวิชาชีพ
ประเภทของการประกันสุขภาพ
-การสร้าวหลักประกันสุขภาพจากระบบภาษี
-การประกันสุขภาพแบบบังคับ
การประกันสุขภาพแบบสมัครใจ
รูปแบบประกันสุขภาพในประเทศ
-สวัสดิการรักษาพยาบาล และ พนักงานรัฐวิสาหกิจ
ประกันสังคม กองทุนทดแทน พรบ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ประกันกับบริษัทเอกชน
การจ่ายเงินให้สถานบริการ
จ่ายย้อนหลังตามบริการ(Retrospective reimbursement)
จ่ายเงินล่วงหน้าตามข้อตกลง(Prospective payment)
จ่ายเงินแบบผสม(Mixed payment)
ปัญหาระบบสุขภาพในประเทศไทย
การเลือกและการใช้สิทธิกับผู้มีรายได้น้อย
ผู้ป่วยเลือกซื้อบัตรสุขภาพเป็นส่วนใหญ่
อัตราคืนทุนต่ำในบัตรสุขภาพ
การให้บริการน้อยกว่าที่ควรในประกันสังคม
ค่าใช้จ่ายของสวัสดิการข้าราชการสูงมาก
ความไม่เท่าเทียมของบริการและค่าใช้จ่ายระหว่างระบบ