Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิด, นางสาววิจิตรา จ่าสี เลขที่ 112 รหัสนักศึกษา…
การพยาบาลทารกแรกเกิด
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีความพิการแต่กำเนิด
ปากแหว่ง
เพดานโหว่Cleft lip
Cleft palate
อาการ
หายใจลำบาก อาจติเชื้อในหูชั้นกลางผิดปกติคือมีปัญหาการได้ยิน
เกิดการสำลัก เพราะไม่มีเพดานรองรับ กรกลืนอาหารเลือนตัวไปในจมูก ทำให้เข้าหลอดลม พูดไม่ชัดเนื่องจากเพดานปากเชื่อมติดกับเพดานจมูก
การดูดกลืนผิดปกติ อมหัวนมไม่สนิท มีรูรั่ว ลมเข้าไปทำให้ท้องอืด
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
การให้นม/อาหารอย่างถูกวิธี
จัดท่าศีรษะสูง 30-45 องศา
ใช้จุนนมยาว รูออกของน้ำนมจะต้องใหญ่กว่าปกติล็น้อย
ดูดครั้งละน้อยๆ บ่อยครั้ง ใส่เพดานเทียมก่อนให้ดูตนม ก่อน-หลังใช้เพดานเทียมต้องทำความสะอาดทุกครั้ง
จับไล่ลมเป็นระยะทุก 15-30 นาที หลังให้นมนอนศีรษะสูง 30 องศา นอนตะแคงขาวเพิอป้องกันภาวะท้องอืด สำลัก
ป้อนน้ำตามทุกครั้งและทำความสะอาดช่องปากเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ประเมินความวิตกกังวลของบิดามารดาของผู้ป่วยเพื่อหาแนวทางแก้ไขหรือการให้ข้อมูลได้ถูกต้องปฏิริยาของบุคคลต่อการสูญเสีย / ข่าวร้าย
ปลอบโยนให้กำลังใจ ให้คำแนะนำและกระตุ้นให้บิดามารดาคอยดูแลบุตรอย่างใกล้ชิดเพื่อลดความเครียดและความวิตกกังวลของบิดามารดา
ประเมินความรู้ความเข้าใจของบิดามารตาเรื่องความผิดปกติของผู้ป่วยและการผ่าตัดรักษา
หลังผ่าตัด
ระมัดระวังไม่ให้แผลผ่าตัดดึงรั้ง
ระวัดระวังสั่งคัดหลั่งจากจมูกมาปนเปื้อนแผลผ่าตัดถ้ามีทำความสะอาดด้วย NSS และปิด sterile strips ใหม่
สอนบิดา มารดา ทำความสะอาดแผล
จัดท่านอนหงายหรือตะแคงไปด้านใดด้านหนึ่ง ห้ามนอนคว่ำเพื่อป้องกันการเสียดสี กับนอน แผลอาจแยกได้
ป้ายยาครีมปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
สังเกตอาการออกเสียงขึ้นจมูกและอากรสำสักอาหารจากปากเข้าจมูก
ห้ามอ้าปากทารกกว้างๆเพื่อป้องกันแผลแยก
ห้ามดูดเสมหะในช่องปาก ยกเว้นหากจเป็นต้องทำด้วยความนุ่มนวล
รูเปิดท่อ ปัสสาวะอยู่ต่ำกว่าปกติ(hypospadias)
การพยาบาล
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
อธิบายขันตอนการเตรียมการก่อนผ่าตัด เช่นการงดน้ำและอาหาร
ประเมินความวิตกกังวล
ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องต่ำางๆ เช่น ผลของการผ่าตัด การปวดหลังผ่าตัด การได้ รับยาระงับความรู้สึกความรู้สึก
เด็กที่ต้องพบกับสิ่ง แปลกใหม่ หลังผ่าตัด
การพยาบาลหลังผ่าตัด
จัดให้เด็กนอนในท่าสบาย ดูสายที่ต่อจาก uretra หรือสาย cystostomyให้อยู่บริเวณหน้าท้องหรือต้นขา
ประเมินความปวดของเด็กให้ยาแก้ปวดตาม แผนการรักษาของแพทย์
เทปัสสาวะออกจากถุงปัสสาวะเวณหน้าท้องหรือต้นขา
ใช้เทคนิคปลอดเชื้อในการทำแผลและการ เทปัสสาวะออกจากถุงปัสสาวะ
คำแนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
บิดามารตา/ผู้ปกครองต้องกระตุ้นให้เด็ก ดื่มน้ำมากๆ ทุกวัน
ห้ามเด็กเล่นทราย ขี่จักรยานหรือนั่งคร่อม ของเล่น ว่ายน้ำหรือเล่นกิจกรรมที่รุนแรง
ดูแลแผลผ่าตัดไม่ให้เปียก ทำความสะอาต ร่างกายเด็กด้วยการเช็ดตัว
อธิบายอาการติดเชื้อ เช่น มีข้ แผลแดงอักสบ ปัสสาวะขุ่นมีตะกอนและกลิ่นเหม็นควรมาพบแพทย์ทันที
หลอดอาหารติด
หลอดลมคอ TE fistula
อาการ
นำลายฟูมปาก ใส่NGไม่ได้สำลัก ไอ เขียว
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
NPO ป้องกัน สำลักศีรษะสูง ใส่ท่อระบายดูดน้ำลายออก
หลังผ่าตัด
-Suction น้ำลายในปาก ลำคอ
ไม่เคาะปอด/สั่นสะเทือน 3วัน
-ให้อาหารทาง NG tube/Gastrostomy tube
Imperforated ความผิดรูปของรูทวารหนัก
อาการตีบ จะถ่ายยากท้องอืด
การพยาบาล
แช่ก้นด้วยนำอุ่น
ไม่กางขา/นั่ง 7-10 วัน เพื่อป้องกัน
แผลแยก
กลับบ้าน : ใช้เทียนไขเหลา/แท่งสบู่เหลวถ่างขยายรูทวาร ฝึกบริหารควบคุมขับถ่าย หนีบลูกเทนนิสหว่าง
ต้นขา Obs.การตีบแคบรูทวาร เช่น
ถ่ายลำบาก เป็นก้อนเล็ก
Ompha locele:มีถุงคลุม
Gastro chisis :ไม่มีถุงคลุม
อาการ
หลั่งคลอดพบหนังท้องซึ่งมักจะอยู่ขวาต่อสายสะดื้อเป็นช่องโหว่ มีอวัยวะภายในออกมา ซึ่งมักจะเป็นกระเพาะอาหาร ลำใส้เล็ก ลำใส้ใหญ่ ซึ่งบวม แดง อักเสบ
การไม่มีผนังหน้าท้องนี้ทำให้ลำไส้ปนเปื้อนความสกปรกจากภายนอก ทำให้มีอาการติดเชื้อ
อุณหภูมิกายต่ำ เด็กตัวเย็น จากน้ำระเหยจากผิวของลำใส้ ทำให้สูญเสียน้ำ
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
keep warm โดยอาจเป็น radiant warmer หรือไว้ใน incubator
ระวัง contaminate โตยต้องใช้ sterile technique พยายามให้สำไส้สะอาต โดยการใช้ผ้า gauze ที่ชุu normal saline ที่อุ่นลูบเช็ดลำไส้เอาสิ่งที่ contaminate ออกเล้วปิดคลุมลำไส้ด้วยผ้า gauze ที่ชุu normal saline ให้หมาดๆและอุ่นคลุมสำไส้
ที่อยู่นอกช่องท้อง เพื่อไม่ให้สำใส้แห้ง เละปิดคลุมทับอีกที่ด้วยผ้า gauze ที่แห้ง เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำระเหย
ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดตำตามแผนการรักษาปริมาณที่ให้โดยประเมินว่ามีสูญเสียน้ำในระดับใดรวมกับ
maintainance ซึ่งโดยปกติแล้วเด็กที่เป็น gastroschisis มักจะมี fuid loss ไปแล้วประมาณ 5% ของน้ำหนักตัว
ดูแลให้ systemic antibiotics ตามแผนการรักษา
หลังผ่าตัด
ดูแลเด็กที่ด้รับการรักษาโดยใช้เครื่องช่วยหายใจประมาณ 24-48 ชั่วโมง
ดูเลให้ใด้รับสารน้ำสารอาหารตามแผนการรักษาเนื่องจากสำไส้ของเต็กที่เป็น gastroschisis นี้มีการอักเสบ บวม และเกาะติดกัน
เป็นกระจุก หลังผ่าตัดปิดหน้าท้องลำไส้จะกลับคืนมาทำหน้าได้ตามปกติก็ใช้เวลาประมาณ 2 สัปดาห์ แพทย์จะให้สารน้ำ สาร
อาหารทางหลอดเลือตต่ำ ตั้งแต่วันที่ 2 หรือวันที่ 3 หลังผ่าตัด ความต้องการพสังงานประมาณ 130-150 kcal/kg/day
ติดตามการทำงานของสำไส้ ฟัง bowel function ยังไม่กลับมาแพทย์จะประเมินหา สาเหตุ เช่น bowel obstruction จาก adhesion, missed atresia or stenosis การดูด
ซึมจะเป็นปกติภายใน 6 เดือน ถ้าไม่มีภาวะแทรกซ้อน
สังเกตอาการระวังการเกิด abdominal compartment syndrome : ท้องอืดอย่างรุนแรง
ปี๊สสาวะออกน้อยลง central venous pressure สูงขึ้น ความต้นในช่องอกสูงขึ้น
Down Syndrome
อาการ
แรกเกิดมีตัวอ่อนปวกเปียก สมองเล็ก กะโหลกศีรษะเล็ก ท้ายทอยแบน จมูก
เล็กและแฟบ ฟันขึ้นช้าหรือไม่ขึ้นเลย ใบแเล็กและผิดปกติ ตาห่าง ด้านหางตา
ชี้ขึ้นบน กระดูกยาวช้า ทำให้ดูตัวสั้น นิ้วสั้น ลายมือผิดปกติ ลายมือมีเส้นขวาง
ฝ่ามือ (Simian crease) หัวใจมักพิการแต่กำเนิด
พัฒนาการ
ด้านการเรียนรู้ : สตัปัญญาอ่อนเลิกน้อยถึงปานกลาง ต้องการการเลียงดูและ
ได้รับการส่งเสริมกระตุ้นตั้งแต่เกิด
ด้านการเคลื่อนไหว : กล้ามเนื้อมัดใหญ่จะมีพัฒนาการช้า
ด้านภาษา :ค่อนข้างช้ามากซึ่งอาจมาจากหลายปัจจัย เช่น เด็กมักมีลิ้นใหญ่ มี
การติดเชื้อของทางเดินหายใจบ่อย คำพูดที่เปล่งออกมามักผิดเพี้ยน
ด้านสังคม : ค่อนข้างดี เด็กกลุ่มอาการดาวน์มักไม่ค่อยมีการสบตาในขณะพูดคุย
กับคนอื่น
ทางเพศ : ด้อยกว่าปกติ หญิงอาจมีประจำเดือนและมีบตรได้
การพยาบาล
1.ช่วยให้ครอบครัวยอมรับความผิดปกติของเด็กได้
2.ช่วยดูแลและสอนครอบครัวเด็กเกี่ยวกับการดูแลบุตร ได้แก่
-การจัดท่านอนและเปลี่ยนท่า -ระวังการสุดสำลักขณะและหลังดูดนม
-ดูแลการถ่ายอุจจาระ เนื่องจากอาจมีท้องผูก
-การให้อาหารเสริมป้อนด้วยช้อนเล็กแต่มีด้ามถือยาว ขณะป้อนอาหารให้เด็ก
ป้อนอาหารให้ถึงหลังและด้านข้างของช่องปาก
-ติดเชื้อง่าย โดยเฉพาะทางเดินหายใจ ดูดเสมหะให้เมื่อมีเสมหะ
ทำความสะอาดช่องปากภายหลังให้นม
-ประเมินติดตามและส่งเสริม/กระตุ้นการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
3.การดูแลในระยะยาว สิ่งที่ควรช่วยเหลือคือ
-การสอน สามารถช่วยตัวเองได้ เช่น การแต่งตัว การรับประทานอาหาร
การหลีกเลี่ยงภัยต่างๆ การประกอบอาชีพ
-ป้องกันการเกิดซ้ำของโรคในครอบครัว หญิงที่เป็นโรคนี้มีโอกาสถูก
ข่มขืนได้ง่าย จึงควรทำการคุมกำเนิดแบบถาวร
การพยาบาลทารกคลอดก่อนกำหนด
ลักษณะทารกคลอดก่อนกำหนด
ผิวบาง แดง ขนอ่อนมาก
อัณฑะรอยย่นน้อย, แคมใหญ่ไม่ปิดแคมเล็ก
ใบหูนิ่ม จับพับงอได้ง่าย
ลายฝ่าเท้าครึ่งเดียว
หัวนมคลำไม่ได้
มักนอนเหยียด งอนิดเดียว
การสูญเสียความร้อน
การนำความร้อน(conduction)
ทารกสัมผัสกับวัตถุเย็น เช่น ชั่งน้ำหนักไม่มีผ้ารอง
การพาความร้อน(convection)
มีลมพัดผ่าน เช่น วางทารกไว้ติดหน้าต่าง
การแผ่รังสี (radiation)
วางทารกไว้ใกล้กับวัตถุที่เย็น ต้องห่อตัว เช่น วางทารกใกล้ผนังห้อง ไว้ใต้ radiant
การระเหย(evaporation)
น้ำระเหยแห้งไปเอง เช่น ทารกตัวเปียก น้ำคร่ำในห้องคลอด การช่วยเหลือได้โดยการใช้ผ้าอุ่นเช็ดศีรษะและลำตัวให้แห้ง
การพยาบาลทารกเกิดก่อนกำหนด
โรคภาวะลำไส้เน่าอักเสบ Necrotizing
Enterocolitis(NEC)
อาการ : ซึม ท้องอืด มีนมค้าง อาเจียนเป็นน้ำดี coffee ground หน้าท้องแดง ไม่ดูดนม
การพยาบาล
ล้างมือให้สะอาดก่อนและหลังให้การพยาบาลทุกครั้ง
บันทึกสัญญาณและออกซิเจนชีพทุก 1ชั่วโมง
ดูแลให้งดน้ำและนมนาน 14 วันตามแผนการรักษา
คาสาย OG-tube เปิดปลายสายต่อลงถุง เพื่อระบายลมและ content ลดอาการท้องอืด
ดูด content ทุก 3 ชม. ประมินลักษณะ สีและปริมาณของ content
ประเมินอาการติดเชื้อเพิ่มมากขึ้น เช่น ซึมลง มีไข้-หนาวสั่น รับนมไม่ได้ ท้องอืดมากขึ้น V/S ผิดปกติ รายงานแพทย์เวรรับทราบทันที
สังเกตอาการของความสามารถในการรับนมของทารก ลดลง (Feeding intolerance) เช่น Bowd sound aดลง Gastric content มีมาก ท้องอืด สำรอกนมบ่อย รายงานให้แพทย์ทราบ และหาสาเหตุต่อไป
ส่งเสริมและให้กำลังใจแก่มารดาในการบีบนม เพื่อให้ทารกได้รับนมมารดาทางสายยางอย่างต่อเนื่อง เพราะน้ำนมมารตามีภูมิคุ้มกันโรคและลดความรุนแรงของโรค Necrotizing enterocolitis
ชั่งน้ำหนักทุกวัน ในน้ำหนักของทารกจะเพิ่มขึ้นวันละประมาณ 20 - 30 กรัม
ภาวะติดเชื้อในทารกแรกเกิด Neonatal sepsis
อาการ : ไข้ หายใจลำบากตัวเหลือง ท้องอืด ไม่มีนมค้าง สำรอกนม ไม่ดูดนม ซึม ร้องกวน
การพยาบาล
1.ล้างมือก่อนและหลังให้การพยาบาล
2.ปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้หลัก aseptic technique
3.ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโดยสวมหมวกผูกผ้าปิดปากและจมูก
4.ดูแลทำความสะอาดร่างกายทารกด้วยผลิตภัณฑ์ที่มี pH 5.5 เพราะเด็กทารกจะมีค่า pH อยู่ระหว่าง 5.5-6.5 ซึ่ง pH 5.5 จะเป็นกรดอ่อนๆ ไม่มีค่าเป็นกรดหรือด่างสูง ช่วยปกป้องผิวจากเชื้อจุลินทรีย์และเชื้อโรคต่างๆ
5.ใช้เครื่องมือที่ผ่านการทำให้สะอาดปราศจากเชื้อ
6.แยกทารกที่มีการติดเชื้อ
7.ส่งเสริมให้ได้รับนมแม่เพื่อให้ทารกได้รับ Ig G Ig A antibody เฉพาะ
8.ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
Hyperbilirubinemia
อาการ เหลือง ซีด ตับ ม้ามโต
การพยาบาล
1.ลดระดับบิลิรูบินด้วยการเปลี่ยนเลือด ก่อนเปลี่ยนเลือด งดนมเละน้ำทารกทันทีนาน 1 h ขณะเปลี่ยนเลือดรักษาความอบอุ่นห้แก่ทารกด้วยการห่มผ้า หลังเปลี่ยนเลือด งดน้ำและนมต่ออีกประมาณ 5-6 hr
2.ป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการส่องไฟ ให้ทารกสวมเสื้อผ้าให้น้อยชิ้นเพื่อให้ผิวหนังได้สัมผัสกับแสงมากที่สุดปิดตาทารกขณะ ส่องไฟ
3.กระตุ้นให้ทารกดูดนมบ่อยๆ ทุก 2-3 hr เพื่อขับบิลิรูบิน
4.ให้กำลังใจแก่บิดามารดา และเปิดโอกาสให้สักถามข้อสงสัย
Hypothermia/ Hyperthermia
การพยาบาล
1.ประเมินอาการของ Hypothermia และ Hyperthermia ดังนี้
Hypothermia เช่น เขียวตามปลายมือปลายเท้า ซึม กระสับกระส่าย ผิวหนังซีดเย็น หายใจเร็วรับนมไม่ได้ น้ำหนักไม่เพิ่ม
สังเกตอาการของ Hyperthermia เช่น ผิวหนังแดงขึ้นและร้อน หายใจ เร็ว อุณหภูมิมากกว่า 37.4 *C เป็นต้น
2.ระวังการสูญเสียความร้อนจากผิวกาย ดังนี้
หลีกเลี่ยงการวางทารกบนพื้นที่ผิวที่เย็น
หลีกเลี้ยงการเปิด incubator บ่อยๆ และตรวจสอบอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมไม่ให้เย็นมากเกินไป
ดูแลผิวทารกให้แห้งอยู่เสมอ
ดูแลเตี้ยงให้อยู่ห่างจากผนังห้องที่เย็น ประตู หน้าต่าง
3.record vital signs โดยเฉพาะ temperature เพื่อติดตามอาการ
การพยาบาลทารกคลอดครบกำหนดที่มีปัญหา
ภาวะการสูดสำลักขี้เทา Meconium Aspiration Syndrome : MAS
อาการ
หน้าอกโป่งผิดปกติ
ทารกหายใจเร็วมากกว่า 60ครั้ง/นาที
ปลายมือปลายเท้าเขียว Cyanosis
Abnormal Breath sound อาจเจอcrepitation
ภาพถ่ายรังสีจะพบ pleural effusion
การพยาบาล
สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
clear airway
สังเกตสัญญาณชีพ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ดูแลให้ยา Antibiotic ตามแผนการรักษาของแพทย์
Jaundice
RBC แตก เสี่ยงต่อ Kernicterus
การพยาบาล
สังเกตผิวหนังถึงอาการตัวเหลืองและรายงานแพทย์เมื่อพบอาการตัวเหลืองเพิ่มขึ้น
สังเกตและบันทึกปริมาณและของอุจจาระและปัสสาวะ
ปันทึก I/0 ประเมินความเพียงพอของน้ำที่ได้รับ
ตรวจหาระดับ bilirubin total และ direct bilirubin ตลอดจนอัตราการ
เพิ่มตามแผนการรักษาของแพทย์
ตรวจหา CBC, albumin, electrolyte, Hct และการเพาะเชื้อ
สังเกตอาการที่แสตงถึงเซลล์สมองถูกทำลาย ได้แก่ ดูดนมน้อย หายใจลำบาก แขนขาอ่อนแรงตัวอ่อน ปวกเปี้ยก ร้องเสียงแหลมปฏิกิริยาตอบสนองลดลง ระดับอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไม่แน่นอน ถ้ำาพบ รายงานแพทย์
นางสาววิจิตรา จ่าสี เลขที่ 112 รหัสนักศึกษา 612401116