Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสัญญา, มาตรา 35 (อัฏฐ), ความหมาย "สัญญา"…
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสัญญา
“สัญญา” หมายถึง ความตกลงกันระหว่างผู้บริโภคและผู้ประกอบธุรกิจเพื่อซื้อเเละขายสินค้าหรือให้เเละรับบริการ
หลักการในการทำสัญญา
วัตถุประสงค์ของสัญญาควรเขียนระบุให้ชัดเจน
ช่ือ ที่อยู่ของคู่สัญญา ต้องระบุให้ครบถ้วน
คู่สัญญาต้องเป็นบุคคลท่ีสามารถทําสัญญาได้ตามกฎหมาย ถ้าเป็นผู้เยาว์ต้องได้รับ ความยินยอมจากผู้ปกครอง ถ้ามีคู่สมรสต้องได้รับความยินยอมด้วย
แบบของสัญญาต้องถูกต้องตามที่กฎหมายกําหนด
ระบุค่าเสียหายเมื่อผิดสัญญา
ระบุฝ่ายใดรับผิดชอบค้าธรรมเนียม ภาษี
ลายมือช่ือคู่สัญญาต่อหน้าทั้งสองฝ่าย
ควรมีพยานรู้เห็นการทําสัญญา ลงลายมือช่ือไว้เป็นหลักฐานด้วย
มาตรา 35 (ทวิ)
ธุจกิจที่ควบคุมสัญญา ต้องมีการทำสัญญาเป็นหนังสือ
ธุรกิจบัตรเครดิต
ธุจกิจให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่
ธุจกิจให้เช่าซื้อรถยนต์และรถจักรยานยนต์
ธุรกิจให้เช่าซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้า
ธุรกิจการให้กู้ยืมเงิน(สถานบันการเงิน)
ธุรกิจขายห้องชุด
ลักษณะการควบคุมสัญญา
ใช้ข้อสัญญา รายการที่ใช้ข้อความจำเป็น
ห้ามใช้ข้อสัญญาหรือข้อความที่ไม่เป็นต่อผู้บริโภค
กำหนดให้การประกอบธุรกิจ ขายสินค้า ให้บริการเป็นธุรกิจที่ควบคุมสัญญา
มาตรา 35 (เบญจ)
กำหนดให้ผู้ประกอบธุรกิจหรือการให้บริการอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นธุรกิจที่ควบคุมรายการในหลักฐานการรับเงินได้
ธุรกิจที่ควบคุมหลักฐานในการรับเงิน
ธุรกิจขายก๊าซหุงต้ม
ธุรกิจให้บริการซ่อมรถ
ธุรกิจการให้เช่าที่อยู่อาศัยเรียกเงินประกัน
ลักษณะหลักฐานการรับเงิน
มีรายการและข้อความที่จำเป็น ซึ่งหากมิได้เป็นไปตามจะทำให้ผู้บริโภคเสียเปรียบผู้ประกอบการ
ห้ามใช้ข้อความที่ไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภค
กองคุ้มครอง
ผู้บริโภคด้านสัญญา
อำนาจหน้าที่ :
(1) ดำเนินการเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคในด้านสัญญาตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค
(2) ดำเนินการเกี่ยวกับงานเลขานุการของคณะกรรมการว่าด้วยสัญญา และคณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการว่าด้วยสัญญาแต่งตั้ง
(3) ดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องร้องทุกข์ของผู้บริโภคในส่วนที่เกี่ยวกับสัญญา หลักฐานการรับเงินสัญญารับประกันหรือสัญญาค้ำประกัน
(5) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
(4) ดำเนินการตรวจสอบข้อความในสัญญา หลักฐานการรับเงิน สัญญารับประกันหรือสัญญาค้ำประกันตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
ฝ่ายบริหารทั่วไป
รับผิดชอบดำเนินงานด้านการบริหารทั่วไปของหน่วยงาน
งานสารบรรณ รับ-ส่ง รวบรวมข้อมูล เอกสารราชการ จัดทำสำเนาเอกสาร ทำลายเอกสาร
ดำเนินการดูแลวัสดุ ครุภัณฑ์หน่วยงาน
งานอำนวยงาน ประสานราชการ ติดต่อประสานราชการ
ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่น
ดำเนินการเกี่ยวกับการลาประเภทต่างๆของบุคลากร
ฝ่ายควบคุม
ดำเนินการตรวจสอบข้อความในสัญญา หลักฐานการรับเงิน ประกันตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค
ยกร่าง ปรับปรุง แก้ไข เพิ่มเติมระเบียบ ประกาศคำสั่งคณะกรรมการว่าด้วยสัญญา
ดำเนินการเกี่ยวกับงานเลขานุการของคณะกรรมการว่าด้วยสัญญาคณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการว่าด้วยสัญญาแต่งตั้ง
ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
ฝ่ายรับเรื่องราวร้องทุกข์
ดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องร้องทุกข์ของผู้บริโภคในส่วนที่เกี่ยวกับสัญญาอสังหาริมทรัพย์ สัญญาเฉพาะสินค้า หรือบริการในธุรกิจควบคุมสัญญา หรือธุรกิจควบคุมรายการในหลักฐานการรับเงิน และสัญญารับประกันตามกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
ดำเนินการเกี่ยวกับงานเลขานุการของคณะอนุกรรมการไกล่เกลี่ยเรื่องราวร้องทุกข์จากผู้บริโภค และคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการต่างๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย
ผู้ประกอบธุรกิจมีหน้าที่ส่งมอบสัญญาที่มีข้อสัญญาหรือมีข้อสัญญาและแบบถูกต้องตามมาตรา 35(ทวิ)หรือส่งมอบหลักฐานการรับเงินที่มีรายการและข้อความถูกต้องตามมาตรา 35(เบญจ) ให้แก่ผู้บริโภคภายในระยะเวลาที่เป็นทางปฏิบัติตามปกติสำหรับการประกอบธุรกิจประเภทนั้น ๆ หรือภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการว่าด้วยสัญญากำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาสุด แต่ระยะเวลาใดจะถึงก่อน
สมาชิกกลุ่ม 3 012,015,090,096,099,103,106,116,118,120,122,124,146,147,148,150,152
บทกำหนดโทษ
มาตรา 57 ผู้ประกอบธุรกิจผู้ใดไม่ส่งมอบสัญญาที่มีข้อสัญญาหรือมีข้อสัญญาและแบบถูกต้องตามมาตรา 35 ทวิ หรือไม่ส่งมอบหลักฐานการรับเงินที่มีรายการและข้อความถูกต้องตามมาตรา 35 เบญจ ให้แก่ผู้บริโภคภายในระยะเวลาตามมาตรา 35 อัฏฐ ต้องระหว่างโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา 57 ผู้ประกอบธุรกิจผู้ใด ส่งมอบหลักฐานการรับเงิน โดยลงจำนวนเงินมากกว่าที่ผู้บริโภคจะต้องชำระและได้รับเงินจำนวนนั้นไปจากผู้บริโภคแล้วต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับตั้งแต่ห้าร้อยบาทถึงหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าตนได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควรในการประกอบธุรกิจเช่นนั้นแล้ว)
มาตรา 35 (อัฏฐ)
ความหมาย "สัญญา"