Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านโฆษณา - Coggle Diagram
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านโฆษณา
มาตรา 22
ลักษณะที่ 2
ข้อความที่จะก่อให้เกิดความเข้าใจผิดใน สาระสําคัญเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการไม่ว่าจะกระทําโดยใช้หรืออ้างอิงรายงานทางวิชาการ สถิติ หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งอันไม่เป็นความจริง หรือเกินความจริง หรือไม่ก็ตาม
ลักษณะที่ 1
ข้อความที่เป็นเท็จหรือเกินความจริง
ลักษณะที่ 3
ข้อความที่เป็นการสนับสนุนโดยตรงหรือโดยอ้อมให้มีการกระทำผิดกฎหมาย
ลักษณะที่ 4
ข้อความที่จะทำให้เกิดความแตกแยก/เสื่อมเสียความสามัคคีในหมู่ประชาชน
ลักษณะที่ 5
ข้อความอย่างอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง (ต้องปฏิบัติตามข้อกำหนด แนวทาง และวิธีการปฏิบัติ ตามกฎกระทรวง)
การโฆษณาสินค้าหรือบริการที่ใช้อ้างอิงข้อเท็จจริง เกี่ยวกับ
การโฆษณาสินค้า หรือบริการที่ระบุหรือประกาศว่า ผู้ประกอบธุรกิจจะจัดให้มีการแถมที่พักหรือรางวัลด้วยการเสี่ยงโชค
การโฆษณาขายห้องชุด บ้านจัดสรร ในหนังสือพิมพ์ สื่อสิ่งพิมพ์ โทรทัศน์ วิทยุ หรือป้ายโฆษณา เป็นต้น
พระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท หรือผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
การโฆษณาจะต้องไม่ใช้ข้อความที่เป็นการไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภคหรือใช้ข้อความที่อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อสังคมเป็นส่วนรวม ทั้งนี้ไม่ว่าข้อความดังกล่าวจะเป็นข้อความเกี่ยวกับแหล่งกำเนิด สภาพ คุณภาพ หรือลักษณะของสินค้าหรือบริการ ตลอดจนการส่งมอบ การจัดหา หรือการใช้สินค้าหรือบริการ
มาตรา 26
ข้อความนั้นเป็นข้อความที่มีความมุ่งหมายเพื่อการโฆษณา คณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณา มีอำนาจกำหนดให้โฆษณาต้องมีถ้อยคำชี้แจงกำกับให้ประชาชนทราบว่าข้อความดังกล่าวเป็นการโฆษณา
มาตรา 23
การโฆษณาจะต้องไม่กระทำด้วยวิธีการอันอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ร่างกายหรือจิตใจ หรืออันอาจก่อให้เกิดความรำคาญแก่ผู้บริโรค ทั้งนี้ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 24
ในกรณีคณะกรรมการเห็นว่าสินค้าใดอาจเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภค ให้มีอำนาจออกคำสั่งดังต่อไปนี้
2.จำกัดการใช้สื่อโฆษณาสำหรับสินค้านั้น
3.ห้ามการโฆษณาสำหรับสินค้านั้น
ความในข้อ 2 และ3 ให้บังคับใช้แก่การโฆษณาที่คณะกรรมการเห็นว่าการใช้หรือประโยชน์ของสินค้านั้นขัดต่อนโยบายทางสังคมหรือศีลธรรม
1.กำหนดให้การโฆษณานั้นต้องกระทำพร้อมกับคำแนะนำหรือคำเตือน เกี่ยวกับวิธีใช้หรืออันตราย ตามเงื่อนไขที่กำหนด
มาตรา 27
ในกรณีคณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณา เห็นว่า ข้อความมีลักษณะอันเป็นการฝ่าฝืนกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค คณะกรรมการมีอำนาจออกคำส่ังให้ผู้โฆษณาแก้ไขข้อความ หรือ ห้ามการใช้ข้อความบางอย่างในโฆษณา หรือห้ามใช้วิธีการนั้นในการโฆษณา หรือให้โฆษณาเพื่อแก้ไขความเข้าใจผิดของผู้บริโภคที่อาจเกิดขึ้นแล้ว
มาตรา 28
ในกรณีที่คณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณามีเหตุอันควรสงสัยว่า ข้อความใดที่ใช้ในการโฆษณาเป็นเท็จหรือเกินความจริงตามมาตรา 22 ให้คณะกรรมการมีอำนาจออกคำสั่งให้ผู้กระทำการโฆษณาพิสูจน์เพื่อแสดงความจริงได้
บทกำหนดโทษ
มาตรา 49
ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณาซึ่งสั่งตามมาตรา
27 หรือมาตรา 28 วรรคสอง
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 50,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา 48
ผู้ใดโฆษณาโดยใช้ข้อความตามมาตรา22 (3) หรือ (4) หรือข้อความที่กำหนดในกฎกระทรางที่ออกตามมาตรา22 (5) หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา23 มาตรา24 มาตรา25 หรือมาตรา26
ระวางโทษจำคุกไม่เกินสามเดือนหรือปรับไม่เกินสามหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา 50
ถ้าการกระทําตามมาตรา 47 มาตรา 48 หรือมาตรา 49 เป็นการกระทำของ เจ้าของสื่อโฆษณา หรือผู้ประกอบกิจการโฆษณา
ผู้กระทำต้องระวางโทษเพียงกึ่งหนึ่งของ โทษที่บัญญัติไว้สำหรับความผิดนั้น
มาตรา 51
ถ้าการกระทำผิดตามมาตรา47 มาตรา48,มาตรา49 หรือมาตรา50 เป็นความผิดต่อเนื่อง
ผู้กระทำต้องระวางโทษปรับวันละไม่เกิน 10,000 บาทหรือไม่เกินสองเท่าของค่าใช้จ่ายที่ใช้สำหรับการโฆษณานั้น ตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม
มาตรา 47
ผู้ใดก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในแหล่งกำเนิด สภาพ คุณภาพ ปริมาณหรือสาระสำคัญประการอื่นอันเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ /โฆษณาหรือใช้ฉลากที่มีข้อความอันเป็นเท็จ
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ถ้าผู้กระทำความผิดตามวรรคหนึ่งกระทำผิดซ้ำอีก ผู้กระทำต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา 25
ผู้บริโภคจำเป็นต้องทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสภาพ ฐานะ เเละรายละเอียดอย่างอื่นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจด้วยคณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณามีอำนาจกำหนดให้การโฆษณาสินค้าหรือบริการนั้นต้องให้ข้อเท็จจริงดังกล่าวตามที่คณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณากำหนดได้