Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดและทารกที่มีภาวะแทรกซ้อน (น้ำคร่ำเเละสายสะดือ) - Coggle…
การพยาบาลผู้คลอดและทารกที่มีภาวะแทรกซ้อน (น้ำคร่ำเเละสายสะดือ)
ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์ (premature rupture of membranes : PROM)
หมายถึงการที่ถุงเยื้อหุ้มแตกหรือปริออก ทำให้มีน้ำคร่ำซึมรั่วหรือไหลออกมา
ปัจจัย
ปัยจัยภายใน เมื่อใกล้ครบกำหนดคลอดผนังของถุงน้ำคร่ำจะอ่อนแอลงตามกลไกของสรีรวิทยาและการขาดความสมุดของ collagen
ปัจจัยภายนอก
1.ทารกผิดปกติ
2.ติดเชื้อ
3.มดลูกขยายตัว
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติลักษณะน้ำที่ออกมาว่า เป็นน้ำปัสสวาะ หรือตกขาว หรืออน้ำคร่ำ
2.การตรวจร่างกาย ตรวจดูบริเวณช่องคลอด
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อยืนยัน
3.1 Nitrazine paper กรดด่าง ด่าง
3.2 Fern test ทดสอบโดยแพทย์ใช้ไม้พันสำลี (sterile swad)
ผลต่อมารดาและทารก
ผลต่อมารดา สายสะดือต่ำ chorioamniitis มีการหดรัดตัวของมดลูก
ผลต่อทารก สายสะดือถูกกดทับจากมีสายสะดือพลัดต่ำ ภาวะน้ำคร่ำน้อย
การรักษา
1.แนะนำให้มาโรงพยาบาลทันทีที่มีน้ำไหลออกมาช่องคลอด
2.ตรวจสถาพของปากมดลูกแลพถุงน้ำ ทางทวารหนักหรือทางช่องคลอด ด้วยความนุ่มนวลและระมัดระวัง
ภาวะติดเชื้อของเยื่อหุ้มถุงน้ำ (Chorio-ammiitis)
การติดเชื้อของเยื้อหุ้มถุงน้ำชั้น chorion,amnion,และ amniotic fluid
ปัจจัยส่งเสริม
1.ภาวะทุพโภชนาการ
2.การตรวจภายในบ่อยๆ
3.การติดเชื้อทางช่องคลอดหรือปากมดลูก
4.การติดยาหรือสารเสพติด
อาการและอาการแสดง
ไข้ 38 ชีพจรเร็วกว่า 100 ครั้ง/นาที น้ำคร่ำมีกลิ่นเหม็น
ผลต่อมารดาและทารก
เกิดการคลอดยาวนาน เยื่อบุช่องท้องอักเสบ การติดเชื้อในกระแสเลือด (septicemia) การติดเชื้ออักเสบของเส้นเลือดดำที่ขา
การรักษา
คือการทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดและได้ยาปฎิชีวนะ
ภาวะน้ำคร่ำอุดตันหลอดเลือดในปอด (amniotic fluid embolism,AFE)
ภาวะที่น้ำคร่ำรั่วเข้าสู่กระแสเลือดไปอุดกั้นบริเวณหลอดเลือดดำที่ปอด กลไกลการเกิดน้ำคร่ำมีส่วนประกอบขอลอนุภาคเล็กๆแข็งๆ อาจจะผ่านเข้าไปทางหลอดเลือดดำของมารดา ทางเส้นเลือดบริเวณที่รกเกาะอยู่ เข้าไปกระแสโลหิตของมารดา ผ่านเข้าสู๋หัวใจและไปยังปอด ทำให้เกิดการอุดตันในหลอกเลือดดำ
สาเหตุ
1.ปัจจัยของหญิงตั้งครรภ์ เช่น อายุ > 35 ปี มีบุตร > 1 คน โดรคเบาหวาน
2.ปัจจัยของทารกในครรภ์ ทารกเสียชีวิตในครรภ์
3.ปัจจัยจากการตั้งครรภ์และการคลอด
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติ ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอด การแตกของถุงน้ำ
2.การตรวจร่างกาย
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผลกระทบ
มารดา
ภาวะหายใจลำบาก ภาวะระบบไหลเวียนโลหิตล้มเหลว
ทารก
ขาดออกซิเจน
อาการและอาการแสดง
กระสับกระส่าย หายใจลำบาก มีเสมหะมาก
การรักษา
1.การดูแลทางเดินหายใจเพื่อให้ออกซิเจนในเลือดอยู่ในระดับปกติ
2.การดูแลระบบไหลเวียนโลหิต
ภาวะสายสะดือเคลื่อนต่ำและพลัดต่ำ
ความหมาย สายสะดือเคลื่อนต่ำและพลัดต่ำเป็นภาวะฉุกเฉินทางสูติกรรมเลือดไม่สามารถไหลผ่านไปยังทารกในครรภ์ได้ทารกจึงเกภาวะขาดออกซิเจนและในที่สุดจะตายในครรภ์
สายสะดือเคลื่อนต่ำ อยู่ต่ำกว่าส่วนนำเมื่อถุงน้ำทูนหัวยังไม่แตกเรียกว่า forelying cord
สายสะดือพลัดต่ำสภาพของ forelying cord ที่ถุงน้ำทูนหัวแตกแล้วสายสะดือจะย้อยลงมาอยู่ภายในหรือออกมาภายนอกช่องคลอดได้
สาเหตุ
1.ส่วนนำไม่กระชับกับส่วนล่างของทางคลอด
2.สายสะดือยาว>75 ซม.
3.รกเกาะต่ำ
การวินิจฉัย
1.สายสะดือเคลื่อนต่ำคลำพบสายสะดืออยู่ข้างส่วนนำหรือต่ำกว่า
2.สายสะดือพลัดต่ำตรวจภายในพบสายสะดือต่ำกว่าส่วนนำคลำไม่พบถุงน้ำหรืออาจพบสายสะดืออยู่ในช่องคลอด
การรักษา
1.หลีกเลี่ยงการเจาะถุงน้ำในกรณีที่ถุงน้ำอยู่สูงหรือเจาะขนาดมดลูกหดรัดตัว
2กรณีที่ท่าทารกผิดปกติควรปรับไว้ในโรงพยาบาลตั้งแต่คันครบกำหนดแม้จะไม่มีอาการเจ็บครรภ์หรือแนะนำให้รีบมาทันทีที่มีน้ำเดิน
ภาวะ vasa previa
ความหมาย ภาวะที่สายสะดือเกาะที่เยื่อหุ้มเด็ก (velamentous insertion) และเกิดร่วมกับภาวะเกาะต่ำทำให้เส้นเลือดระบบสะดือ
สาเหตุ
เกิดจาก zygote ไม่ฝังตัวที่ endometrium แต่จะฝังตัวที่ส่วนล่างของมดลูกเป็นผลทำให้สายสะดือไม่เกาะอยู่บนตัวรกแต่จะเกาะที่เยื่อหุ้มเด็ก
อาการและอาการแสดง
มีการฉีกขาดของเส้นเลือดฝอยที่สะดือ ทารกจะมีภาวะคับขัน
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติหญิงตั้งครรภ์ให้ประวัติมีน้ำไหลสีแดงทางช่องคลอด
2.การตรวจร่างกายถ้าตรวจภายในบางรายอาจคลำพบเส้นเลือดบนถุงน้ำคร่ำผ่านปากมดลูกก่อนถุงน้ำคร่ำแตก
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.1 Apt test
3.2 wright stain เพื่อตรวจดูว่ามี uncleated fetal red cell หรือไม่
ผลต่อมารดาและทารก
ไม่เป็นอันตรายต่อมารดาเนื่องจากเลือดที่ไหลออกไม่ได้มาจากมารดาแต่เป็นเลือดที่มาจากหลอดเลือดฝอยของทารกทารกมีภาวะแทรกซ้อนจากการเสียเลือด
การรักษา
รีบช่วยทารกในครรภ์โดยการคลอดให้เร็วที่สุดโดยการผ่าตัดคลอดทารกทางหน้าท้อง การให้คลอดทางช่องคลอดอาจทำได้เมื่อใกล้คลอดและใช้เวลาน้อยกว่าการทำการผ่าคลอดทารกทางหน้าท้อง