Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดและทารกที่มีภาวะแทรกซ้อน - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้คลอดและทารกที่มีภาวะแทรกซ้อน
ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด Preterm labor/premature labor
ความหมาย
เจ็บครรภ์ก่อน 37 สัปดาห์ อายุครรภ์ 28 – 36+6 สัปดาห์
1.1 คุกคาม (threatened preterm labor) 28 – 36 สัปดาห์ หดรัดตัวของมดลูกสม่ำเสมออย่างน้อย 1 ครั้งทุก 10นาที เวลาประเมินอย่างน้อย 30 นาที
1.2 ก่อนกำหนด (preterm labor) 28 – 36 สัปดาห์ หดรัดตัวของมดลูกส่ำเสมออย่างน้อย 4 ครั้งใน 20 นาที ปากมดลูกคือเปิด _> 2 ซม.หรือบางตั้งแต่ 80%
สาเหตุ
ภาวะครรภ์แฝดน้ำ
-ครรภ์แฝด
-ภาวะตกเลือดก่อนคลอด
อาการเเละอาการแสดง
มดลูกหดรัดตัวสม่ำเสมอ ปวดหรือเจ็บครรภ์ ผนังหน้าท้องตึง
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย การเปิดปากมดลูกคือเปิด _> 2 ซม.หรือบางตั้งแต่ 80%
การตรวจร่างกาย การเปิดปากมดลูกคือเปิด _> 2 ซม.หรือบางตั้งแต่ 80%
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ เช่น cervical length
ผลต่อมารดาและทารก
ผลต่อมารดา ลดอันตรายจาดภาสะแทรกซ้อนในระยะตั้งครรภ์ เช่น ภาวะความดัน โลติสูงในระยะตั้งครรภ์
ผลต่อทารก RDS ภาสะสมองได้รับการกระทบกระเทือน
การรักษา
การป้องกัน
ให้บริการฝากครรภ์ที่ดี ให้ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงและผลกระทบ
ให้ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงและผลกระทบ
ให้ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงและผลกระทบ
คัดกรองภาวะเสี่ยง
หลีกเลี่ยงหรืองดกิจกรรม ที่ทำให้เกิดการเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด เลิกสูบบุหรี่
การยับยั้ง
ตรวจร่างกายยืนยันว่ามีภาวะเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด
ตรวจยืนยันอายุครรภ์ให้แน่นอนจากประวัติ
ทารกไม่มีภาวะแทรกซ้อน
การช่วยเหลือเมื่อไม่สามารถยับยั้งการเจ็บครรภ์
ควรดูแลร่วมกับกุมารอพทย์ด้วย นั้นเตรียมเครื่องมือและบุคลากรในการช่วยทารกภยหลังคลอดให้พร้อม
งดอาหารและน้ำดื่ม
ตัดเย็บให้กว้าง ซึ่งช่วยลดโอกาสเกิดภาวะเลือดออกในสมองของทารก
ภาวะการตั้งครรภ์เกินกำหนด (postterm,prolonged pregnancy)
ตั้งครรภ์มากกว่าหรือเท่ากับ 42 สัปดาห์ หรือ 294 วันขึ้น
อาการและอาการแสดง
1.มีน้ำหนักลดลง > 1 กิโลกรัม
2.ท้องเล็กลง
3.ยอดของมดลูกไม่ได้สัดส่วนกับอายุครรภ์
4.น้ำคร่ำน้อย
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติ วันแรกของประจำแรกเดือนครั้งสุดท้ายที่มาปกติ
วันแรกที่รู้สึกว่าลูกดิ้น
2.การตรวจร่างกาย
3.การตรวจทางห้องปฎิบัติการ ด้วยการใช้ ultrasound
ผลกระทบ
มารดา
คลอดยาก ทารกตัวใหญ่
ทารก
มีน้ำหนักมากกว่า 4,000 กรัม น้ำคร่ำลดน้อยลง สายสะดือถูกกดทับ สำลักขี้เทา
การรักษา
1.ประเมินภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์บ่อยๆ
2.วัดรอบท้องหรือทำ ultrasound เพื่อประเมินดูภาวะน้ำคร่ำน้อย
3.ตรวจาทางชองคลอดดูลักษณะของปากมดลูกและการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ