Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปบทที่ 11 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา ทางระบบประสาท (1 ), นางสาวคีตภัทร…
สรุปบทที่ 11 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา
ทางระบบประสาท (1 )
ชักจากไข้สูง
(Febrile convulsion)
การ
ชัก
ที่สัมพันธ์กับการมี
ไข้สูง
ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อของระบบประสาท
ชนิด
simple febrile seizure
ชักจากไข้แบบธรรมดา
complex febrile seizure
ชักจากไข้แบบซับซ้อน ชักต่อเนื่อง
นานกว่า 15 นาที
สาเหตุ
ติดเชื้อในระบบต่างๆ
T> 39 °C
อาการและอาการแสดง
ตัวร้อน หน้าแดง มึนงง กระสับกระส่าย ร้องกวน ชักเกร็ง ไม่รู้สึกตัว
การรักษา
ระยะมีอาการ
หาก
ชัก > 5 นาที
ต้องทำให้หยุดชักเร็วที่สุด โดยใ
ห้ยาระงับอาการชัก
ให้ยาลดไข้+เช็ดตัว
ขณะชักห้ามให้ยากิน
ระยะหลังชัก
ซักประวัติตรวจร่างกายโดยละเอียด
ให้ยาป้องกันการชัก รับประทานทุกวันนาน 1-2 ปี
การพยาบาล
วัด vitalsign q.4 hr.
ให้ยาลดไข้และเช็ดตัว
จัดท่านอนตะแคงศีรษะต่ำกว่าลำตัว ดูดเสมหะเมื่อมี
ระมัดระวังอุบัติเหตุที่อาจเกิดขณะมีอาการชัก
สังเกตและบันทึกระยะเวลาของการชักลักษณะการซัก
โรคลมชัก
(Epilepsy)
อาการชักที่เกิดขึ้นซ้ำๆ > 2 ครั้งขึ้นไป โดยไม่สัมพันธ์กับการมีไข้
ชนิด
Generalized seizure
ได้แก่
Tonic seizure เกร็งแข็ง ล้มลงถ้ายืนอยู่
Clonic seizure มีการกระตุกเป็นจังหวะที่ช้ากว่า myoclonic
Tonic clonic seizure (Grand mal) มีการเกร็งก่อนแล้วมีการกระตุกตาม
Atonic seizure มีการสูญเสียความดึงตัวของกล้ามเนื้อ
Myoclonic seizure มีการหดตัวของกล้ามเนื้อเป็นระยะสั้นๆ
Absence seizure (Petit mal) มีตากระพริบหรือตากระตุก
Infantile spam ในเด็ก 3เดือน- 2 ปี = งอศีรษะ ลำตัว แขนขา เข้าหากันระยะสั้นๆ แล้วคลายออกคล้าย
สะดุ้ง
Partial seizure
ได้แก่
Simple partial seizure มีการกระตุกหรือชาของแขนขา หน้า คอ ประมาณ 5-10 s
Complex partial seizure การชักที่มีอาการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม
Partial seizure evolving to secondary generalize seizure มีความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าสมองเฉพาะที่แล้วกระจายทั่วสมองทั้ง 2 ข้าง
Unclassified epileptic seizure เป็นชนิดที่ไม่สามารถจัดกลุ่มได้
สาเหตุ
มีรอยโรคในเนื้อสมอง ทำให้cell ประสาทหลั่งไฟฟ้าผิดปกติ
การวินิจฉัย
การตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง(EEG)
เพื่อหาชนิดและตำแหน่งของรอยโรค
การรักษา
ให้ Diazepam 0.2-0.4 mg/kg/min vine
หากไม่หยุดชัก
ใน 2-5 นาที ให้ให้ซ้ำ
5 นาที phenytoin 20 mg/kg.ผสม 0.9% NSS vine
ยากันชัก
Benzodiazepine
พฤติกรรมเปลี่ยนแปลง มีเสมหะจากหลอดลมมาก
Phenobarbital
ทำให้ง่วงซึม เดินเซ
Phenytoin (dilantin)
เห็นภาพซ้อน ตากระตุก คลื่นไส้ Folic acid ต่ำได้
Valproic acid
ง่วงซึม คลื่นไส้อาเจียน มือสั่น
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
บิดามารดา
ขาดความรู้ในการดูแล
วิตกกังวลเกี่ยวกับการชักของเด็ก
เสี่ยงต่อ
ภาวะพร่องออกซิเจน จากการชักเป็นเวลานาน
เกิดอุบัติเหตุ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
(Meningitis)
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย ไวรัส พยาธิ เชื้อรา
Cerebrospinal fluid test
Pressure
เด็กโต = 110-150 mm H2O
ทารก 100 mmH2O
ไม่พบ
Red cells / White cell count
Glucose
50-75 mg/dl
Protein
14-45 mg/dl
อาการและอาการแสดง
อาการแสดงของการติดเชื้อ
มีไข้ ปวดศรึษะ อาเจียน ชัก
คอแข็ง (Stiffness of neck)
Kernig’s sign ได้ผลบวก
Brudzinski’s
การรักษา
เฉพาะ
ให้ยาปฏิชีวนะที่สอดคล้องกับผลการเพาะเชื้อน้ำไขสันหลังที่เป็นสาเหตุ
ตามอาการ
เช่น
ให้ยาลดไข้ ยานอนหลับ ยากันชัก ยาลดอาการบวมของสมอง
การป้องกัน
ฉีดวัคซีน
เช่น
Hib vaccine , JE vaccine,BCG
ไข้สมองอักเสบ (Encephalitis)
สาเหตุ
ติดเชื้อไวรัส
แบ่งเป็น
Primary viral encephalitis
ไวรัสที่นำโดยแมลง เช่น ไข้สมองJE เริม พิษสุนัขบ้า
Secondary viral encephalitis
ไวรัสหัด หัดเยอรมัน อีสุกอีใส คางทูม
อาการและอาการแสดง
ไข้สูง ปวดศรีษะและต้นคอมาก คอแข็ง อาเจียน ซึม
การวินิจฉัย
ตรวจน้ำไขสันพบว่า
น้ำไขสันหลังใส
WBC 10-1000 cell/mm³ ส่วนใหญ่เป็น lymphocyte
ความดันของน้ำไขสันหลัง > 180 mmHg
โปรตีน > 40 mg/dL
การรักษา
ให้ยา
กันชัก เช่น Phenoberbital
ยาลดการบวมของสมอง เช่น dexamethasone
ยาต้านจุลชีพ/ยาปฏิชีวนะ
การป้องกัน
การฉีดวัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบ JE
เลี่ยงการสัมผัสกับเชื้อโรคหรือภาหะ
นางสาวคีตภัทร บุญขำ
เลขที่ 9 รหัส 62111301010