Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 70 ปี Diagnosis Senile Cataract LE - Coggle Diagram
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 70 ปี
Diagnosis Senile Cataract LE
การวินิจฉัยโรค: Senile Cataract LE
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล: (Chief Complaint): ตาซ้ายมัวและมัวมาก 2 ปี
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน 2 ปีก่อนอาการตาซ้ายมัวและมัวมาก 6 เดือน มาตรวจที่โรงพยาบาลปทุมธานี แพทย์นัดทำผ่าตัด 20/4/2564
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต(Past Illness): ปฏิเสธการเจ็บป่วยในอดีต
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
ปฏิเสธโรคพันธุกรรม ปฏิเสธโรคติดต่อในครอบครัว
พยาธิสภาพ ปกติแก้วตาจะเริ่มทึบเมื่ออายุ 35 ปี และจะค่อยๆทึบขึ้นเรื่อยๆ เมื่ออายุ 70 ปี 90% จะเป็นต้อกระจกแก้วตาประกอบด้วยตา ในระยะแรกจะมีการซึมผ่านของน้ำมากกว่าภาวะปกติทำให้เนื้อเยื่อของแก้วตาบวม เมื่อถึงระยะต้อกระจกสุกจำนวนน้ำที่เพิ่มขึ้นจะลดลงความหนาแน่นของแก้วตาจะค่อยๆ ลดลงเกิดการสูญเสียธาตุโพแทสเซียมโดยมีธาตุโซเดียมเข้ามาแทนที่เพื่อรักษาสมดุลแคลเซียมมาสะสมมากขึ้น การใช้ออกซิเจนลดลง ขณะเดียวกันจะเกิดความไม่สมดุลของโปรตีนชนิดของต้อกระจก
การผ่าตัดและคำอธิบาย
PE with IOL LE (Phacoemulsification with Intraocular Lens Left Eye) เป็นการผ่าตัดต้อกระจกโดยการใช้คลื่นเสียง หรืออัลตราซาวด์ที่มีความถี่สูงเข้าไปสลายเนื้อแก้วตาแล้วดูดออกมาทิ้ง และจึงนำแก้วตาเทียมใส่เข้าไปแทน
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
(Nursing Diagnosis)
ข้อวินิจฉัยที่ 3
มีโอกาสเกิดการติดเชื้อและเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังการทำผ่าตัด
ข้อมูลสนับสนุน
OD :
ได้รับการผ่าตัด PE with IOL LE
มีสารคัดหลั่งออกจากแผลผ่าตัด
ข้อวินิจฉัยที่ 2
เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากตาซ้ายพร่ามัวมองไม่ชัด
ข้อมูลสนับสนุน
SD :
ผู้ป่วยบอกว่าตาซ้ายมองเห็นไม่ชัด
OD :
ผู้ป่วยเดินไม่ถนัดเวลาเดินต้องใช้ไม้ค้ำยันช่วย
ข้อวินิจฉัยที่ 4
ขาดความตระหนักเรื่องสุขภาพ
ข้อมูลสนับสนุน
SD :
ผู้ป่วยบอกว่าไม่ค่อยได้ออกกำลังกายส่วนมากจะนอนที่เตียงนอน
ผู้ป่วยไม่เคยตรวจสุขภาพ
ข้อวินิจฉัยที่ 1
นอนไม่หลับเนื่องจากวิตกกังวลกับการผ่าตัด
ข้อสนับสนุน
SD :
ผู้ป่วยบอกว่านอนไม่หลับมา 2-3 คืน เพราะกลัวการผ่าตัด
OD :
ใต้ตาคล้ำ อ่อนเพลีย
ข้อวินิจฉัยที่ 5
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน เนื่องจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารไม่เหมาะสมกับโรค
(Hyperglycemia, ตา, หลอดเลือด, การเกิดแผลที่เท้า)
S : ผู้สูงอายุบอกว่า “ชอบกินข้าวกับของหวาน พวก กล้วย ละมุด มะม่วงสุก และกินกับข้าวเหนียว”
ข้อวินิจฉัยที่ 6
เสี่ยงต่อการเกิดแผลที่เท้าซ้ำ เนื่องจากสูญเสียการรับความรู้สึกของเส้นประสาทส่วนปลาย บริเวณเท้าทั้ งสองข้าง และขาดความรู้ในการดูแลเท้า
S : ผู้ป่วยบอกว่าเป็นแผลที่เท้าหลายครั้งแล้ว
O:จากการสังเกต ผู้ป่วยเดินเท้าเปล่า