Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนใน ระยะคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนใน
ระยะคลอด
ภาวะแทรกซ้อนที่เกี่ยวข้องกับอายุครรภ์
ความหมาย
ความหมายการเจ็บครรภ์คลอดที่เกิดในช่วงอายุครรภ์คลอดก่อน 37 สัปดาห์คือตั้งแต่อายุครรภ์ 28-28 + 6 สัปดาห์โดยมีการหดรัดตัวของมดลูกสม่ำเสมอมี 2
ประเภท
1.1 ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดคุกคาม (threatened preterm labor) มีการหดตัวของมดลูกอย่างสม่ำเสมออย่างน้อย 1 ครั้งทุก 10 นาทีโดยใช้เวลาอย่างน้อย 30 นาที แต่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงของมดลูก
1.2 ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดู (preterm labor) มีการหดรัดตัวของมดลูกสม่ำเสมออย่างน้อย 4 ครั้งใน 20 นาทีหรือ 8 ครั้งใน 1 ชั่วโมงปากมดลูกเปิด> หรือเท่ากับ 2 ซมปีหรือบางตั้งแต่ 80%
ปัจจัยส่งเสริม
ด้านสูติศาสตร์และนรีเวช
-ครรภ์แฝด
-ภาวะครรภ์แฝดน้ำ
-ภาวะตกเลือดก่อนคลอดเช่นในรายที่รกเกาะต่ำ
-ความผิดปกติของมดลูกและปากมดลูก
-ภาวะความดันโลหิตสูงในระยะตั้งครรภ์
-ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
-ภาวการณ์ติดเชื้อในระบบสืบพันธุ์
-ภาวะทารกตายในครรภ์
-มีประวัติการช่วยเจริญพันธุ์
ด้านอายุรกรรม (medical factors)
-โรคเรื้อรังเช่นเบาหวานความดันโลหิตสูงโรคไต
-ภาวะติดเชื้ออื่น ๆ เช่นการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะการอักเสบของกรวยไต
-โรคปริทันต์ (Periodontal disease)
ด้านสังคมและพฤติกรรมต่างๆเศรษฐฐานะประดับต่ำพบถึงร้อยละ 12-20 ภาวะทุพโภชนาการก่อนตั้งครรภ์และขณะตั้งครรภ์อายุพบมากในอายุมากกว่า 19 และมากกว่า 35 ปีไม่ฝากครรภ์และได้รับการดูแลก่อนคลอดไม่เพียงพอภาวะเครียดทางจิตใจมารดาที่สูบบุหรี่จัดดื่มเหล้าติดยา
อาการและอาการแสดง
1.มดลูกหดรัดตัวสม่ำเสมอ
2.อาจมีอาการปวดหรือเจ็บครรภ์
3.ผนังหน้าท้องตึง
4.ปวดถ่วงบริเวณหัวหน่าว
5.ปวดหลังส่วนล่าง
6.อาจมีถ่ายปัสสาวะหรือท้องเสีย
การวินิจฉัย
การตรวจดูความยาวของปากมดลูกโดยใช้เครื่องตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงที่อายุครรภ์ 22-34 สัปดาห์
การตรวจทางชีวเคมีโดยตรวจหา Fetal fibronectin จากมูกบริเวณปากมดลูกและช่องคลอดให้ผลบวกเมื่อมีค่า> 50 ng / ml.
การตรวจหา estriol จากน้ำลายผู้คลอดให้ผลบวกเมื่อมีค่า 2.1 ng / ml.
การตรวจดูการหดรัดตัวของมดลูกโดยใช้ Home uterine activity monitor
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อมารดาเป็นการลดอันตรายจากภาวะแทรกซ้อนในระยะตั้งครรภ์เช่นภาวความดันโลหิตสูงในระยะตั้งครรภ์ผลเสียจากการรักษาที่ได้รับเช่นการนอนพักเป็นเวลานาน ๆ อาจทำให้กล้ามเนื้ออ่อนแรงนอนไม่หลับเบื่ออาหาร
ผลกระทบต่อทารก: ทำให้ทารกคลอดก่อนกำหนดอวัยวะต่างๆยังทำงานได้ไม่สมบูรณ์ทำให้ทารกมีภาวะเสี่ยงเช่นภาวะการหายใจล้มเหลวภาวะสมองได้รับการกระทบกระเทือน
ภาวะแทรกซ้อนเกี่ยวกับมดลูก
ภาวะมดลูกแตก (Uterine rupture)
มดลูกแตก คือภาวะที่ผนังมดลูกแตก หรือปริออก ทำให้ตกเลือดเข้าไปในช่องท้องเป็นจำนวนมาก ลูกน้อยในครรภ์และน้ำคร่ำ อาจหลุดออกจากมดลูกเข้าไปในช่องท้อง ลูกน้อยจะขาดเลือด และเสียชีวิต ในบางรายคุณแม่ก็เสียชีวิตด้วย ส่วนมากมักเกิดขึ้นในระยะเจ็บครรภ์ หรือบางรายอาจเกิดได้ในทุกระยะขณะตั้งครรภ์
การรักษา
แก้ไขภาวะช็อค
การผ่าตัดเปิดช่องท้อง (exploratory laparotomy)
รายงานกุมารแพทย์ เพื่อช่วยฟื้นคืนชีพทารก ในกรณีที่ทารกยังมีชีวิต
การเย็บซ่อมแซมหรือตัดมดลูก
ถ้าเลือดออกอีกอาจต้องท าผ่าตัด เพื่อผูก hypogastric arteries ทั้งสองข้างร่วมด้วย
ให้เลือดทดแทน และให้ยาปฎิชีวนะอย่างเต็มที
สาเหตุ
รอยแผลผ่าตัดเดิม จากแผลผ่าท้องคลอด หรือแผลผ่าตัดอื่นๆ
การทำสูติศาสตร์หัตถการอย่างยาก เช่น การทำคลอดด้วยคีม การทำคลอดท่าก้น การหมุนเปลี่ยนท่าเด็กจากภายใน สูติศาสตร์หัตถการทำลายเด็ก เป็นต้น
การบาดเจ็บบริเวณช่องท้องอย่างรุนแรง (severe abdominal trauma)
เคยผ่านการตั้งครรภ์ และการคลอดบุตรจำนวนมาก (grand multiparty)
การใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
รกฝังตัวลึกชนิด placenta percreta หรือ placenta increta
การคลอดติดขัด (obstructed labor)
ชนิดของมดลูกแตกแบ่งออกเป็น 2 ชนิด
complete uterine ruptured
- การฉีกขาดของมดลูกทั้ง 3 ชั้นของผนังมดลูก- ส่วนใหญ่จะพบว่าทารกมีสภาพเสียชีวิต
incomplete uterine ruptured
- การฉีกขาดของมดลูกชั้นendometrium ,myometrium แต่ไม่ทะลุชั้น peritoneum- ทารกยังคงอยู่ภายในโพรงมดลูก และส่วนมากมักมีชีวิตอยู่
อาการและอาการแสดง
ก่อนมดลูกแตก
เจ็บปวดบริเวณท้องน้อยอย่างรุนแรง
กระสับกระส่าย PR เบาเร็ว RR ไม่สม่ำเสมอ
การคลอดไม่ก้าวหน้า
มองเห็นหน้าท้องเป็นสองลอนสูงขึ้นเกือบถึงระดับสะดือ (Bandl’s ring)
tetanic contraction
ทารกในครรภ์เกิด fetal distress อาจพบ FHS ไม่สม่ำเสมอ
อาจมีเลือดออกทางช่องคลอด
เมื่อมดลูกแตกแล้ว
เจ็บปวดบริเวณมดลูกส่วนล่างอย่างรุนแรง
คลำพบส่วนของทารกชัดเจนขึ้น
ถ้ามดลูกแตกขณะเจ็บครรภ์ อาการเจ็บครรภ์จะหายไปทันท
อาจพบว่ามีเลือดออกทางช่องคลอดจำนวนเล็กน้อย
ท้องโป่งตึงและปวดท้องอย่างรุนแรง
FHS เปลี่ยนแปลง
PV พบส่วนนำลอยอยู่สูงขึ้นจากเดิม
มีภาวะ Hypovolemic shock
ผู้คลอดจะเจ็บบริเวณหน้าอก ร้าวไปถึงไหปลาร้า
ผลกระทบ
ต่อผู้คลอด
ดอาจมีอาการแสดงของการเสียเลือดจนช็อก
เจ็บบริเวณท้องมาก
อาจเกิดภาวะเยื่อบุช่องท้อง
อักเสบ
ความวิตกกังวล
ต่อทารก
ขาดออกซิเจนอย่างรุนแรง
ได้รับบาดเจ็บจากการคลอดฉุกเฉิน
อาจเสียชีวิตได้
ภาวะมดลูกปลิ้น(Inversion of the uterus)
ความหมาย ภาวะที่ยอดมดลูกรั้งลงมาส่วนล่างของโพรงมดลูก อาจพ้นปากมดลูกออกมา หรือโผล่มาถึงปากช่องคลอด
ชนิดของมดลูกปลิ้น
incomplete inversionยอดมดลูกเคลื่อนต่ำลง แต่ยังไม่พ้นปากมดลูก
complete inversionยอดมดลูกเคลื่อนพ้นปากมดลูก แต่ยังไม่ถึงปากช่องคลอด
อาการและอาการแสดง
PV คลำได้ก้อนเนื้อบริเวณปากมดลูก
มีเลือดออกมาทันทีภายหลังคลอดในกรณีที่รกคลอดแล้ว
มีอาการปวดท้องอย่างรุนแรง ถ้ารกยังไม่ลอกตัว หรือรกติดแน่น
มีอาการช็อคจากการปวด และการเสียเลือดมาก
ผลกระทบ
มารดา
ช็อคจากการเสียเลือด
เลือดออกอย่างรุนแรง
เจ็บปวดมาก
อันตรายถึงขั้นเสียชีวิตได้
ทารก
ได้รับความอบอุ่นจากมารดาล่าช้า
การสร้างเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารกล่าช้า
การรักษา
การป้องกันที่สำคัญที่สุดหลังจากเย็บแผลสามารถประเมินสภาพได้รวดเร็ว
การช่วยเหลือการคลอดรกอย่างถูกวิธี
การตรวจภายในหลังทำคลอดรก
ให้การรักษาสภาพทั่วไป
ให้สารน้ำและเลือดอย่างเพียงพอ
การฉีดมอร์ฟีนเพื่อระงับอาการปวด
ดันมดลูกกลับภายใต้การดมยาสลบโดยใช้halothane
ถ้ารกลอกตัวแแล้วให้เริ่มทำการดันมดลูกกลับได้ทันที
ถ้ายังไม่ลอกตัวให้เซาะรกออกก่อน และใช้ฝ่ามือส่วนปลายและนิ้วหงายขึ้น แล้วดันยอดมดลูกที่ปลิ้นมาอยู่ข้างนอก ให้กลับเข้าไปตามแนวแกนของช่องทางคลอด
เมื่อดันเข้าที่แล้วให้oxytocinทันทีเพื่อช่วยให้มดลูกหดรัดตัวได้ดี
ในกรณีที่ไม่สามารถดันกลับคืนได้ต้องผ่าตัดทางหน้าท้องช่วยทันที
ให้ยาป้องกันการติดเชื้อ ให้ยากลุ่มธาตุเหล็กรักษาภาวะเลือดจาง
การวินิจฉัย
1.ซักประวัติ เกี่ยวกับการตั้งครรภ์และการคลอดครั้งก่อน
2.ตรวจร่างกายจากอาการและอาการแสดง
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ภาวะแทรกซ้อนเกี่ยวกับน้ำคร่ำและสายสะดือ
vasa previa
ความหมาย ภาวะที่หลอดเลือดของสายสะดือหรือของรกทอดอยู่บนเยื่อหุ้มทารกเเละทอดผ่านบริเวณปากมดลูก ซึ่งเป็นภาวะเสี่ยงต่อการฉีกขาด
สาเหตุ
Velamentous insertion เกิดร่วมกับภาวะรกเกาะต่ำ
ภาวะที่มีรกน้อย (placenta succenturiata)
ครรภ์เเฝด สายสะดือของคครภ์เเฝดเกาะ
บนเยื่อหุ้มทารกได้มากกว่าครรภ์เดี่ยวถึง 9 เท่า
รกครรภ์เเฝดสาม พบภาวะสายสะดือเกาะบนเยื่อหุ้มทารกทุกราย
อาการและอาการแสดง
ระยะก่อนถุงน้ำคร่ำแตก 1) ก่อนถุงน้ำคร่ำแตก ตรวจภายในจะเห็นหรือคลำพบหลอดเลือดที่เต้นในจังหวะเดียวกับ FSH 2) Amnioseopy เห็นหลอดเลือดทอดอยู่บนเยื่อถุงน้ำคร่ำชัดเจน 3 ) U/S อาจจะเห็นหลอดเลือดทอดอยู่ต่ำกว่าส่วนนำ 4 ) อาจตรวจพบ FHS มีการเปลี่ยนแปลงจากการที่หลอดเลือดถูกกดโดยส่วนนำ หรือจากการตรวจ NST พบ Variable deceleration
ระยะหลังถุงน้ำเเตกมีเลือดปนออกมากับน้ำคร่ำfetal distress จากเลือดที่ออกเป็นเลือดของทารก
การวินิจฉัย
1 การชักประวัติ อาจให้ประวัติมีเลือดออกทางช่องคลอดตามหลังหรือพร้อมๆกับถุงน้ำคร่ำแตก
2 การตรวจร่างกาย พบอาการและแสดงได้ดังกล่าวมาแล้วทั้งอาการแสดงของภาวะ Vasa previa หลังถุงน้ำคร่ำแตกอาการแสดงของภาวะ Vasa previa ก่อนถุงน้ำคร่ำแตก
3.ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ Apt test , wright stain , ตรวจดูรก
ผลกระทบ
ในกรณีที่ถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว ทารกมีโอกาสตายสูงเนื่องจากเลือดที่ออกเป็นเลือดของทารก
การรักษา
1 ) ก่อน ARM ทุกครั้งต้องนึกถึงภาวะ Vasa previa เสมอ
2) ถ้าวินิจฉัยได้ก่อนถุงน้ำคร่ำแตก แพทย์จะรักษาโดย C/S
3) ถ้าวินิจฉัยได้หลังถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว ต้องทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดโดยเร็ว โดยไม่ต้องรอผลการทดสอบเลือดว่าเป็นเลือดของทารกหรือไม่
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด
Amniotic Fluid Embolism (AFE) เป็นภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรมที่มีความรุนแรง คือภาวะที่มีน้ำคร่ำรั่วแล้วมีการพลัดเข้าไปในกระแสเลือดทางมารดา ไปอุดกลั้นบริเวณหลอดเลือดดดำที่ปอดซึ่งเกิดขึ้นทันที
สาเหตุและพยาธิสรีรภาพ
น้ำคร่ำจะพลัดเข้าสู่กระแสเลือดมารดา
ถุงน้ำคร่ำแตก
มีทางเปิดต่อกัน
มดลูกมีการหดตัว
ทารกตายในครรภนานเกิดการเปื่อยทำให้หลอดเลือดเกิดการฉีกขาดด้วยน้ำคร่ำ
รกรอกตัวก่อนกำหนด
อาการและอาการแสดง
1.กระสับกระส่าย
2.หายใจลำบาก
3.มีเสมหะมาก
4.อาเจียนชักหมดสติ
ผลกระทบ
ภาวะหายใจลำบาก ภาวะไหลเวียนโลหิตล้มเหลว
การวินิจฉัย
การซักประวัติประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดการแตกของถุงน้ำ
การตรวจร่างกายตรวจพบอาการและอาการแสดงที่มีลักษณะจำเพาะ 3 ลักษณะที่ประกอบด้วยภาวะหายใจลำบากภาวะระบบไหลเวียนโลหิตล้มเหลวและภาวะลิ่มเลือดแพร่กระจากในหลอดเลือด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการเช่นการเจาะเลือดตรวจภาวะ DIC, chest X-ray
การรักษา
การดูแลทางเดินหายใจเพื่อให้ออกซิเจนในเลือดอยู่ในระดับปกติพิจารณาให้ใส่ท่อเครื่องหายใจจัดท่านอนศีรษะสูง
การดูแลระบบไหลเวียนโลหิตการให้สารน้ำ crystaloid ทดแทนรวมถึงการให้ยาในการช่วยชีวิตเช่น Dopamine
การให้เลือดและส่วนประกอบอื่น ๆ ของเลือดเป็นหลักสำคัญในการรักษาแก้ไขภาวะ fibrinogen ในเลือดต่ำ
การดูแลทารกแรกเกิดควรได้รับการดูแลอย่างท่วงทันทีและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาทที่อาจเกิดขึ้นตามมาได้ในทารกแรกเกิด
สายสะดือพลัดต่ำ
ความหมายภาวะที่สายสะดือทารกในครรภ์เคลื่อนพลัดต่ำมาอยู่ต่ำกว่าส่วนนำ หรือมาอยู่ด้านข้างส่วนนำ ทำให้สายสะดือถูกกดระหว่างส่วนนำกับกระดูกเชิงกราน ส่งผลให้เลือดไม่สามารถไหลผ่านไปยังทารกได้
ชนิดของสายสะดือย้อย
Forelying cord คือ ภาวะที่สายสะดือย้อยลงต่ำกว่าส่วฯนำ แต่ถุงน้ำยังไม่แตกทำให้ถูกกดทับได้ ตรวจไม่พบทางช่องคลอด
Overt prolapsed cord ภาวะที่สายสะดือย้อยลงต่ำกว่าส่วนนำอาจอยู่ในช่องคลอดหรือนอกปากช่องคลอด เมื่อถุงน้ำแตกแล้ว
Occult prolapsed cord การเคลื่อนต่ำของสายสะดือลงมาข้างๆ ส่วนนำที่กว้างที่สุด (Biparietal diameter) ถุงน้ำอาจจะแตกหรือไม่แตกก็ได้ ตรวจไม่พบทางช่องคลอด
การวินิจฉัย
คลำสายสะดือได้จากการตรวจภายใน
เห็นสายสะดือโผล่พ้นช่องคลอด
เสียงหัวใจทารกในครรภ์ผิดปกติ
Ultrasound ชนิด color Doppler
สาเหตุ: 1. ส่วนนำไม่กระชับกับส่วนล่างของทางช่องคลอดเช่นท่าดปกติครรภ์แฝดทารกตัวเล็ก 2. สายสะดือยาวมากกว่า 75 เซนติเมตรมีโอกาสที่จะเกิดได้ง่าย 3. รกเกาะต่ำทำให้สายสะดืออยู่ใกล้กับปากมดลูกมากกว่ารกที่เกาะ 4. ศีรษะทารกอยู่สูงเมื่อรางน้ำแตกหรือมีการเจาะถุงน้ำภาวะเชิงกรานแคบ
การรักษา
1.หลีกเลี่ยงการเจาะถุงน้ำในกรณีที่ส่วนนำอยู่สูงและ / หรือเจาะขนะมดลูกหดรัดตัว
กรณีที่ทารกผิดปกติควรรับไว้ในโรงพยาบาลตั้งแต่ครรภ์ครบกำหนตแม้จะไม่มีอาการเจ็บครรภ์ แต่ในรายที่เกิดภาวะเหล่านี้ควรให้การรักษาโดยมีหลักสำคัญคือให้วนนำอยู่สูงเพื่อช่วยลดการเกิดสายสะดือถูกกดทับ
ภาวะรกค้างหรือการล้วงรก
ความหมาย: โดยทั่วไปรกและเบี้ยหุ้มจะคลอดออกมาจากทารกเกิด 5-15 นาที แต่บางครั้งไม่สามารถตลอดออกมาได้ซึ่งถ้าไม่คลอดภายหลังเกิด 30 นาทีเว้นการกค้าง
สาเหตุ
การทำคลอดรกไม่ถูกต้องส่วนใหญ่เกิดจากการคลึงมดลูกก่อนที่รกจะลอกตัวหรือการให้ยา methergin ก่อนทำคลอดรก
มดลูกหดรัดตัวไม่ดีอาจเนื่องมาจากคลอดล่าช้าผู้คลอดได้รับยาแก้ปวดมากเกินไปอ่อนเพลียการได้รับยาสลบ
รกมีความผิดปกติเช่นมีรกน้อยรกมีขนาดใหญ่และแบนรักเกาะแน่นหรือรกฝังตัวล็กกว่าปกติ
การวินิจฉัย
การซักประวัติประวัติการแท้งและการขูดมดลูกการตกเลือด
การตรวจร่างกาย ได้แก่ การตรวจการหดรัดตัวของมดลูกการตรวจสอบกระเพาะปัสสาวะจำนวนเลือดที่เสียจากการคลอด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการหรือการตรวจพิเศษ ได้แก่ ระยะเวลาที่รอรกคลอดการใช้อัลตราซาวน์ตรวจสอบมดลูกภายหลังรกคลอดในกรณีที่สงสัยวรกไม่ครบ
ผลต่อมารดา: ทำให้ตกเลือดและ Hypowlemic shock
การรักษา: กรณีที่มีรถค้างแพทย์จะตัดสินใจล้วงรก
ภาวะแทรกซ้อนเกี่ยวกับทารกในครรภ์
IUGR (Intrauterine Growth Retardation) หรือ ภาวะทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า
สาเหตุของ Symmetrical IUGR
1.สภาพแวดล้อม : ที่อาศัยอยู่ในภูมิประเทศที่สูงทำให้ทารกในครรภ์มีภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง
2.ภาวะทุพโภชนาการ : สตรีมีครรภ์มีน้ำหนักก่อนคลอดน้อยกว่า 45 กิโลกรัมหรือน้ำหนักไม่เพิ่มขึ้นขณะตั้งครรภ์
3.การได้รับรังสี : โดยเฉพาะในไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์
4.ยาและสิ่งเสพติดยา : ยาที่รักษาโรคในสตรีมีครรภ์ทำให้ทารกเกิด IUGR เช่น ยาป้องกันชักบางกลุ่มเช่น Dilantin หรือยาลดความดันโลหิตเช่น propranolol เป็นต้น การสูบบุหรี่ตั้งแต่ 10 มวนต่อวัน การดื่มสุราวันละ 1 ออนซ์ รวมทั้งการใช้สารเสพติดต่างๆ เช่น โคเคน เฮโรอื่น
5.พันธุกรรม : ทารกในครรภ์ที่มีความผิดปกติของโครโมโซมมีโอกาสเกิด IUGR ร้อยละ 17-38 เช่น trisomy 13-18 หรือ 21, Turner's syndrome, multiple sex chromosome XXX เป็นต้น
6.พิการแต่กำเนิด : โดยเฉพาะทารกที่มีความพิการของระบบหัวใจและหลอดเลือด
7.การติดเชื้อของทารกในครรภ์
สาเหตุของ Asymmetrical IUGR
1.สตรีมีครรภ์เป็นโรคหลอดเลือด เช่น โรคความดันโลหิตสูงเรื้อรัง (chronic hypertension) ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์ โรคเบาหวาน โรคของระบบภูมิคุ้มกัน (autoimmune)
2.สตรีเป็นโรคเกี่ยวกับเม็ดเลือดแดงในการจับออซิเจน เช่น โรคโลหิตจาง โรคหัวใจที่มีภาวะเขียว (tetrology of fallof) เป็นต้น
3.สตรีมีครรภ์เป็นโรคไตเรื้อรัง มีการสูญเสียโปรตีนออกทางปัสสาวะ
4.ภาวะครรภ์แฝด
5.ความผิดปกติของรกและสายสะดือ
ความหมายภาวะที่ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้ากว่าที่ควรจะเป็น โดยทารกจะมีขนาดตัวที่เล็ก และมีน้ำหนักตัวน้อยกว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 10 เมื่อเปรียบเทียบกับทารกที่อยู่ในช่วงอายุครรภ์เดียวกัน หรือต่ำกว่าน้ำหนักเฉลี่ย 2 เท่าของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่อายุครรภ์นั้นๆ ซึ่งจัดเป็นกลุ่มน้ำหนักตัวต่ำกว่าเกณฑ์
ทารกเจริญเติบโตช้าแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้
Asymmetrical IUGR ทารกในกลุ่มนี้จะมีขนาดเล็กในทุกระบบอวัยวะ ยกเว้นขนาดศีรษะที่ปกติหรือมีผลกระทบน้อยกว่าส่วนอื่นๆ โดยสาเหตุในกลุ่มนี้มักเกิดในช่วงระยะท้ายของการตั้งครรภ์ เช่น ภาวะ placental insufficiency จากภาวะความดันโลหิตสูง เป็นต้น ซึ่งส่งผลต่อเฉพาะ cell size เท่านั้น จากภาวะนี้ทำให้ทารกมีการปรับตัว เกิดภาวะ brain sparing phenomenon ขึ้น
Symmetrical IUGRทารกในกลุ่มนี้จะมีอัตราการเจริญเติบโตที่ช้าในทุกอวัยวะ ซึ่งความผิดปกติมักเกิดตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของการตั้งครรภ์ โดยอาจเป็นผลจากการได้รับสารเคมี การติดเชื้อไวรัส หรือรวมไปถึงการที่มีโครโมโซมผิดปกติ ทำให้เกิดการลดลงของทั้ง cell number and size
ผลต่อมารดา
เพิ่มอัตราการผ่าตัดคลอดทารกทางหน้าท้องเนื่องจากพบทารกมีภาวะเครียดในอัตราค่อนข้างสูง
เพิ่มภาระในการเลี้ยงดู และส่งผลกระทบต่อจิตใจ
การรักษา
1.การวินิจฉัยภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
2.การตรวจครรภ์ด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงทุก 2-3 สัปดาห์
3.รับไว้ในโรงพยาบาลเมื่อมีภาวะแทรกซ้อนของมารดา
การกําหนดเวลาคลอดที่เหมาะสม ภาวะเสี่ยงมากควรพิจารณาให้คลอดโดยเร็วที่สุดและบาดเจ็บน้อยที่สุด หลีกเลี่ยงการให้ยาระงับปวดหรือยากดประสาทแก่สตรีมีครรภ์มากเกินไป
การวินิจฉัย
การซักประวัติหาสาเหตุและปัจจัยส่งเสริมของการเกิดภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
การตรวจร่างกายการตรวจครรภ์ ขนาดของมดลูกเล็กกว่าอายุครรภ์ 3 เซนติเมตรขึ้นไปการชั่งน้ำหนักของสตรีมีครรภ์ น้ำหนักเพิ่มขึ้นน้อยหรือไม่มีการเพิ่มขึ้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการการเจาะเลือดเพื่อค้นหาสาเหตุ ได้แก่ CBC,FBS, BUN, C, HBsAg. VDRL, Anti HIV และ TORCH titer
การตรวจพิเศษ โดยการตรวจด้วยคลื่นความถี่สูงซึ่งสามารถวินิจฉัยภาวะ IUGR ได้ดังนี้-การวัด AC ได้ค่าน้อยกว่า -2SD ของค่า AC-การวัดสัดส่วนระหว่างเส้นรอบศีรษะและเส้นรอบท้อง ได้ค่าน้อยกว่า 1แต่ในกรณีที่ทารกมีภาวะ asymmetrical IUER จะพบว่าค่า HC / AC-การวัดสัดส่วนระหว่างความยาวของกระดูกต้นขาและเส้นรอนท้อง (FL / AC ratio) ได้ค่ามากกว่า 24% แสดงว่ากาวะasymmetrical IUGR-การตรวจดูระดับความเสื่อมของรก (placental grading) หากพบว่าอยู่ในระยะต้นของไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภ์ อาจเกิดภาวะ IUGR
ทารกภาวะคับขัน ( fetal distress )
ความหมาย: ภาวะในครรภ์ได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
สาเหตุ
ภาวะที่เลือดไหลเวียนไปยไม่เพียงพอเกิดได้จากหลายสาเหตุเช่นแผลูมาพตัดตัวมากเกินไปกระดกเลิแผนผ 66 ทรงตั้งครรภ์เกินกำหนด
ภาวะผิดปกติของสายสะดีเอเช่นสายสะดือถูกกดทับในรายที่นคราน้อยสายสะดือพลัดต่ำ
อาการและอาการแสดง
อัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ผิดปกติร่วมกับอาการผิดปกติอื่น
ตรวจพบขี้เทาปปนในน้ำคร่ำกรณีที่ทารกมีส่วนนำเป็นศีรษะซึ่งแสดงระดับการขาดออกซิเจนของทารกในครรภ์
เลือดของทารกมีภาวะเป็นกรด
ผลต่อมารดาทารกผลต่อมารดาเป็นผลด้านจิตใจมากกว่าจากความกลัวและจิตวิตกกังวลเกี่ยวกับสุขภาพทารกในครรภ์
การรักษา 1. จัดท่านอนตะแคงซ้าย 2. แก้ไขผู้คลอดตามสถานการณ์ 3. ให้ออกซิเจน 4 ลิตร / นาทีทาง cannula หรือ 8-10 ลิตร / นาทีทาง face mask 4. ประเมิน FHS และบันทึกเสียงหัวใจทารกอย่างต่อเนื่องด้วย On electronic fetal monitoring
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติจากอาการสำคัญที่มาการดิ้นของทารกในครรภ์การแตกของถุงน้ำ
การตรวจร่างกาย ได้แก่ การวัดสัญญาณชีพการตรวจครรภ์และฟังเสียงหัวใจของทารกในครรภ์
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ ได้แก่ การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ด้วยการ On EFM, NST, BPP
ผลต่อทารก: อาจทำให้เกิดการขาดออกซิเจนแรกเกิดหรือถึงขั้นเสียชีวิตได้