Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Burns, นางสาว ศุจินทรา สดทะเล ปี2 ห้อง2 เลขที่ 62 - Coggle Diagram
Burns
ปัจจัยความรุนแรงของแผล
อายุ ถ้าเกิดในเด็กอายุน้อยกว่า 2ปี ตายมากขึ้น
ส่วนของร่างกาย
ประวัติการเจ็บปวด เช่น โรคปอด
การบาดเจ็บร่วม เช่น กระดูกหัก : :
ประเภทของแผลไหม้
สาเหตุของการเกิดเเผลไหม้
Rediation Injury
ระเบิดปรมณู
อุบัติเหตุจากรังสี
สารกัมมันตรังสี
Chemical Injury
Electrical Injury
ฟ้าผ่า
ไฟฟ้าแรงสูง
Themal Injury
ความร้อนแห้ง
เปลวไฟ
ประกายไฟ
ความร้อนเปียก
น้ำมัน
ไอน้ำ
น้ำร้อน
การพยาบาล
ระยะวิกฤต
ดูแลด้านโภชนาการให้ได้รับเพียงพอ
ประคับประคองด้านจิตใจ
ดูแลให้ได้รับยาบรรเทาอากาศปวด
ทำแผลให้สะอาด ป้องกันการติดเชื้อ
ระยะฉุกเฉิน
ป้องกัน Respiratory distress
เตรียมใส่ท่อคอ x บวม
เตรียม escharotomy
.ให้
ใส่ O2 100 เปอร์เซนต์ ถ้า 1 ชม. ยังไม่รู้สึกตัว
แรกรับใน 2 - 4 ชม.
ประเมิน ABC
หยุดการเผาไหม้ที่เหลือ
ซักประวัติ
นน. สส. for สารน้ำ
เปิดเส้นเลือด for IV
.ใส่สายสวน ปสว.
กัน Hypovolomie shock
บันทึก I/O สังเกตลักษณะ สี กลิ่น
V/S q 15 - 30 minute
ให้ได้รับสารน้ำทดแทน
ชั่งน้ำหนักวันละครั้ง
ป้องกันการเสียน้ำ คุมอุณหภูมิ ความชื้น
เจาะ CBC, ABG, E'lyte, Bun, Cr,, Protein, PT, PTT
ระดับความรุนแรงของแผล
แบ่งตามความกว้าง Rule
แบ่งตามความลึก
first degree burn
ปวดแสบ หายเองใน 3 - 5 วัน
ทำลายถึงชั้นผิลหนังกำพร้า
ลักษณะผิวแดงหรือชมพู
Third degree burn
ผิวหนังถูกทำลายทุกชิ้น
ลึกถึงกระดูกได้
ผิวขาดซีด เหลืองดำ
มีการดึงรั้งกันและแผลยึดติด
ทำ Skin graft
second degree burn
Superficial partial thickness
หายเองใน 9 -14 day + scar
ผิวแดง มีตุ่มพอง แสบมาก
กำพร้าทั้งหมด บางส่วนของหนังเเท้
Deep partial Thickness
หายใน 14 - 28 day
หนังกำพร้า หนังแท้ถูกทำลายทั้งหมด
ผิวสีขาว ซีด ตุ่มพอง/แฟบ
การเปลี่ยนแปลงของร่างกายเมื่อเกิดแผล
Localized effect
การเปลี่ยนแปลงเฉพาะที่
ผิลเสียหน้าที่ในการควบคุม T
ผิวทำให้เสียน้ำ เกลือแร่
Sustematic effect
กรด ด่าง
Hyperkalemia
metabalic acidosis
ระบบทางเดินภายใจ
Inhalation Injury
Smoke Inhalation มีก๊าสพิษใน Body
Copoigoning พิษของ COL = พร่อง O2
เยื้อบุหายใจ Fail = อุดกั้นทางเดินหายใจ
แผลบวมไหม้ หลอดเลือดเดินไม่สะดวก
เลือด
Hemoconcen tation
Hemolysis
NBC
: + Bleeding
ไหลเวียนเลือด
เสียน้ำทางผิว + 4 - 5 เท่า
ผนัง Vassle
Permeability
เสี่ยง Hypovolomic Shock
กล้ามเนื้อ กระดูก
เนื้อตาย
myoglobin
ARF
อาจเกิดการอักเสบและติดเชื้อ
เกิดข้อติด
แผลหายช้า
เสียพลังงาน
ผิวหนังถูกทำลาย
การเปลี่ยนแปลงของร่างกายเมื่อเกิดแผล
นางสาว ศุจินทรา สดทะเล ปี2 ห้อง2 เลขที่ 62