Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 71 ปี Diasnosis Senile Cataract RE - Coggle…
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 71 ปี
Diasnosis Senile Cataract RE
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล
• ตาขวามัว มองไม่ชัด ไม่ปวดตา 1 ปีก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน (ระยะเวลา การเปลี่ยนแปลงของอาการ วิธีการแก้ไข/รักษาตั้งแต่เริ่มมีอาการจนถึงวันที่มาโรงพยาบาล)
• 1 ปีก่อนมาโรงพยาบาล เริ่มมีตาขวามัว มองไม่ชัด ไม่ปวดตา ไปตรวจที่โรงพยาบาลบางหลวง แพทย์วินิจฉัยเป็น ตาต้อกระจก (Cataract) จึงส่งตัวมารักษาต่อที่โรงพยาบาลปทุมธานีและแพทย์นัดมานอนโรงพยาบาล เพื่อผ่าตัดต้อกระจก วันที่ 20 เมษายน 2564
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต (การเจ็บป่วยอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเจ็บป่วยในครั้งนี้/ อุบัติเหตุ/ การผ่าตัด)
• โรคประจำตัว โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
• เคยได้รับอุบัติเหตุหกล้มข้อสะโพกหัก ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพก เมื่อ 3 ปีที่แล้ว
ประวัติการเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัว (โรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม/ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์)
• ปฎิเสธการเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัว
พยาธิสภาพ ปกติแก้วตาจะเริ่มทึบเมื่ออายุ 35 ปี และจะค่อยๆทึบขึ้นเรื่อยๆ เมื่ออายุ 70 ปี 90% จะเป็นต้อกระจกแก้วตาประกอบด้วยตา ในระยะแรกจะมีการซึมผ่านของน้ำมากกว่าภาวะปกติทำให้เนื้อเยื่อของแก้วตาบวม เมื่อถึงระยะต้อกระจกสุกจำนวนน้ำที่เพิ่มขึ้นจะลดลงความหนาแน่นของแก้วตาจะค่อยๆ ลดลงเกิดการสูญเสียธาตุโพแทสเซียมโดยมีธาตุโซเดียมเข้ามาแทนที่เพื่อรักษาสมดุลแคลเซียมมาสะสมมากขึ้น การใช้ออกซิเจนลดลง ขณะเดียวกันจะเกิดความไม่สมดุลของโปรตีนชนิดของต้อกระจก
การผ่าตัดและคำอธิบาย
PE with IOL LE (Phacoemulsification with Intraocular Lens Left Eye) เป็นการผ่าตัดต้อกระจกโดยการใช้คลื่นเสียง หรืออัลตราซาวด์ที่มีความถี่สูงเข้าไปสลายเนื้อแก้วตาแล้วดูดออกมาทิ้ง และจึงนำแก้วตาเทียมใส่เข้าไปแทน
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing Diagnosis
2.วิตกกังวล กลัวการผ่าตัด เนื่องจากการขาดความรู้ในการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด
ข้อสนับสนุน
SD: ผู้ป่วยบอกว่าไม่รู้จะดูแลตัวเองอย่างไรตอนผ่าตัด
-ผู้ป่วยซักถามเกี่ยวกับแผนการรักษาและการผ่าตัด
-มีสีหน้าวิตกกังวล
OD: -ผู้ป่วยผ่าตัด Phacoemulsification with Intraocular Lens ( PE c IOL) ในวันพรุ่งนี้ แพทย์วินิฉัยเป็น Senile Cataract Right
1.เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เนื่องจากการมองเห็นลดลง
ข้อสนับสนุน
SD: ตาขวามัว มองไม่ชัด และเคยได้รับอุบัติเหตุหกล้มข้อสะโพกหัก
OD: ผู้ป่วยมีค่าสายตาข้างขวา 20/200 c PH20/100 แพทย์วินิฉัยเป็น Senile Cataract Right
3.ผู้ป่วยปวดแผล เนื่องจากเนื้อเยื่อบาดเจ็บจากการผ่าตัด
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing Diagnosis)
ข้อสนับสนุน
SD: ผู้ป่วยบ่นปวดตาข้างขวา
-Pain score 5 คะแนน
-ขอยาแก้ปวด
-มีสีหน้านิ่ว คิ้วขมวด
OD: -ผู้ป่วยผ่าตัด Phacoemulsification with Intraocular Lens ( PE c IOL)
4.เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด เนื่องจากขาดความรู้เรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง
ข้อสนับสนุน
OD: แพทย์วินิฉัยเป็น Senile Cataract Right และทำการผ่าตัด Phacoemulsification with Intraocular Lens ( PE c IOL)
5.มีความพร้อมในการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ข้อสนับสนุน
OD: ผู้ป่วยยังขาดความพร้อมในการปฏิบัติตัวเมื่อไปอยู่บ้าน