Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดที่ทำสูติศาสตร์หัตถการ (คลอดท่าก้น) - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้คลอดที่ทำสูติศาสตร์หัตถการ (คลอดท่าก้น)
ความหมาย ช่วยคลอดทารกท่าก้นพานสู่ช่องเชิงกรานก่อนส่วนอื่นๆ ทารกมีขนาดเล็ก มีแต่น้ำคร่ำมากทำให้ทารกในครรภ์เคลื่อนไหวไม่สะดวก ถ้าใช้ก้นเป็นส่วนนำในระยะก่อน 32 สัปดาห์ จะยังไม่ถือว่าเป็นภาวะที่ผิดปกติ
ปัจจัยส่งเสริม
การคลอดก่อนกำหนด
ทารกตัวเล็ก
ครรภ์แฝดน้ำหรือน้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ
มีความผิดปกติของมดลูกแต่กำเนิด
มีประวัติเคยคลอดท่าก้น
ประเภทของท่าก้น
1.Frank breech ต้นขาของทารกจะทับแบนอยู่กับหน้าท้อง ขาจะเหยียบที่เข่าทั้งสองข้างของเท้าพาดไปบริเวณหน้าอก เหมือนตัว ง
Complete breech ทารกอยู่ในท่าอสะโพก และงอเข่าทั้งสองข้างบางทีเหมือนขัดสมาธิ
3.Incomplete breech ที่มีส่วนของขายืดต่ำกว่าระดับ Sacrum. แบ่งออกเป็น
3.1 Single footling ท้าวยื่นออกมาเพียงข้างเดียว
3.2 Double footling ท้าวยื่นออกมาทั้งสองข้าง
การวินิจฉัย
การตรวจหน้าท้องด้วยวิธี Leopold maneuver
ท่าที่ 1 first maneuver คลำได้ลักษณะกลมเรียบ
ท่าที่ 2 second maneuver หลังทารกอยู่ข้างใดข้างหนึ่งของบริเวณลำตัวผู้คลอด
ท่าที่ 3 third maneuver ส่วนนำยังไม่ลงอุ้งเชิงกราน จะคลำได้ก้นทารกอยู่เหนือหัวหน่าว
ท่าที่ 4 fourth maneuver พบก้นทารกเป็นส่วนนำเข้าสู่อุ้มเชิงกราน
การฟังเสียงหัวใจทารกตำแหน่งที่ฟังได้ชัดเจนจะเป็นส่วนหลังทารกในตำแหน่งที่สูงกว่าระดับสะดือหรือระดับสะดือ
การตรวจภายใน เมื่อปากมดลูกเปิดหมด ถุงน้ำคร่ำแตกแล้วจะสามารถคลำอวัยวะสืบพันธุ์หรือรูทวารทารกได้ อาจมีขี้เทาติดมาด้วย
ชนิดการทำคลอดที่มีท่าก้นเป็นส่วนนำ
Spontaneous breech delivery ผู้ช่วยคลอดช่วยพยุงส่วนลำตัวของทารกที่คลอดออกมาแล้ว
เพื่อให้ส่วนที่เหลือคือ แขน ไหล่ และตัวคลอด ตามแบบธรรมชาติ
Breech assisting เริ่มช่วยคลอดเมื่อทารกคลอดออกมาเองจนถึงบริเวณสะดือแล้ว
Breech extraction ค่องข้างอันตราย แต่ก็อาจมีความจำเป็น
ในบางรายที่ทารกอยู่ในภาวะอันตราย เช่น สายสะดือย้อย
ภาวะเเทรกซ้อน
มารดา
การฉีกขาดของหนทางคลอด
ตกเลือดหลังคลอด
ติดเชื้อ
อันตรายจากการได้รับยาสลบ
ทารก
กระดูกหักและข้อเคลื่อน
เลือดออกในสมอง
ขาดออกซิเจน
แขนและไหล่เป็นอัมพาต
เส้นเอ็นเล็กๆที่อยู่ใต้ลิ้นฉีกขาด
การพยาบาลผู้คลอดท่าก้น
การพยาบาลในระยะที่ 1 ของการคลอด
ป้องกันถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเวลาที่เหมาะสม
ตรวจภายในช่องคลอดด้วยความนุ่มนวล
ฟังเสียงหัวใจทารกเป็นระยะๆ
การพยาบาลในระยะที่ 2-3 ของการคลอด
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้
เตรียมอุปกรณ์ช่วยชีวิตอื่นๆ
การพยาบาลในระยะที่ 4 ของการคลอด
ประเมินสัญญาณชีพ
ติดตามการตรวจร่างกายทารกว่ามีการบาดเจ็บจากการคลอดหรือไม่
ดูแลให้ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกตามแผนการรักษา