Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 28 การดูแลผู้คลอดที่ได้รับการช่วยคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการ - Coggle…
บทที่ 28 การดูแลผู้คลอดที่ได้รับการช่วยคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการ
การผ่าตัดคลอดทางหน้าคลอด
ความหมาย
การผ่าตัดคลอด (Cesarean section) ห มายถึงการทำคลอดทารกโคยผ่านทางผนังหน้าท้อง(laparotomy) และผนังมดถูก (hysterotomy) โดยทารกต้องสามารถมีชีวิตรอดได้ หากเป็นการผ่าตัดนำทารกออกจากช่องท้องในรายที่มดลูกแตก หรือตั้งครรภ์ในช่องท้อง หรือทารกน้ำหนัก น้อยกว่า 1,000กรัม สำหรับในกรณีที่ผ่าตัดเช่นนั้น เราใช้คำว่า hysterotomyซึ่งไม่รวมถึงการผ่าตัด abdominalpregnancy, rupture uterus หรือ hysterectomy ในราย abortion
ข้อมูลขององค์การอนามัยโลก พบว่าอัตราการผ่าตัดคลอดที่เพิ่มขึ้นเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนทั้งต่อมารดาและทารกมากขึ้น ดังนั้นจึงแนะนำผ่าตัดคลอดในรายที่มีข้อบ่งขี้ทางการแพทยเท่านั้น
ข้อบ่งชี้ในการผ่าตัดคลอด
1.ข้อบ่งชี้การผ่าตัดคลอดโดยสมบูรณ์ (absolute indication) เป็นข้อบ่งชี้ที่ต้องทำการผ่าตัดอย่าง
แน่นอน หากปล่อยให้คลอดเอง อาจมีอันตรายต่อมารดาและทารก
ข้อบ่งชี้การผ่าตัดคลอดโดยอนุโลม (relative indication) เป็นข้อบ่งชี้ที่อาจจะผ่าตัด หรืออาจจะคลอดทางช่องคลอดก็ได้ แล้วแต่สภาวะของมารดาหรือทารก ว่าจะมีความเสี่ยงหรืออันตรายมากน้อยแค่ไหนและอย่างไร
ประเภทของการผ่าตัดคลอดทางหน้าคลอด
มี 2 แบบ ได้แก่
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องแบบวางแผนถ่วงหน้า (elective cesarean birth) เป็นการการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องที่กำหนด ไว้ล่วงหน้า เมื่อมารดามีข้อบ่งห้ามการคลอดทางช่องคลอด เช่น รกเกาะต่ำชนิดสมบูรณ์ (placenta previa totalis) ติดเชื้อเริมที่อวัยวะเพศ หรือเมื่อสูติแพทย์และมารคาตัดสินใจผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องซ้ำ
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องแบบฉุกเฉิน (emergency cesarean birth) เป็นการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องที่ไม่ได้วางแผนล่วงหน้า ผลลัพธ์ทางจิตสังคมของมารดที่ผ่าตัดคลอดคังกล่าวมักเป็นทางลบเมื่อเปรียบเทียบกับการผ่าตัดแบบวางแผนล่วงหน้า โดยปกติการผาตัดคลอดแบบฉุกเฉิน มารดาจะเข้าสู่การผ่าตัดคลอด ด้วยความเหนื่อยล้าหลังจากการคลอดที่ยากลำบาก มารดาจะวิตกกังวลเกี่ยวกับความปลอดภัยของตนเองและทารกในครรภ์
ภาวะแทรกซ้อนของการผ่าตัดคลอด
ภาวะแทรกช้อนต่อผู้คลอด
1.ขณะผ่าตัด เกิดอันตรายต่ออวัยวะภายในช่องท้อง เช่น ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ ลำไส้เป็นต้นเกิดภาวะแทรกซ้อนจากยาระงับความรู้สึก เช่น สำลักเศยอาหาร ความดันโลหิตต่ำ ตกเลือด (≥1,000)มิลลิลิตร ช็อกเป็นต้น ในรายที่มีภาวะรกเกาะต่ำ รกลอกตัวก่อนกำหนด หลอดเลือดที่ตัวมดลูกฉีกขาดรกค้างหรือมดลูกหดรัดตัวไม่ดี อาจเกิดการเสียเลือดมากขึ้น
2.หลังผ่าตัด ลำไส้อึดแน่น (paralytic ileus) ติดเชื้อที่มดลูกหรือแผลผ่าตัด มักจะพบในรายที่มีภาวะเสี่ยง ได้แก่ โลหิตจาง ถุงน้ำคร่ำแตกนาน ได้รับการตรวจทางช่องคลอดหลายครั้งในการเจ็บครรภ์ยาวนาน ติดเชื้อของ
ภาวะแทรกซ้อนต่อทารก
ทารกได้รับอันตรายจากการผ่าตัดคลอด เช่น ถูกมีดบาค กระดูกหัก ข้อเคลื่อน เป็นต้น ทารกเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาในระบบทางเดินหายใจและพร่ องออกซิเจน เนื่องจากการผ่าตัดคลอดจะไม่มีแรงบีบอัดต่อทรวงอกทารกขณะผ่านหนทางคลอด ทำให้ของเหลวภายในปอดและทางเดินหายใจของทารกไม่ถูกบีบไล่ออกมา
การช่วยคลอดท่าก้น
ความหมาย
การช่วยคลอดทารกท่าก้น (breech assisting) หมายถึง การช่วยเหลือให้ทารกในครรภ์ ที่ทารกเอากัน หรือส่วนหนึ่งส่วนใดของขา ผ่านสู่ช่องเชิงกรานก่อนส่วนอื่น ๆ ถือเป็นการคลอดที่ผิดปกติ
ประเภทของท่าก้น
Frank breech หรือ Extended breech พบมากถึงร้อยละ 70 ของท่าก้น ต้นขาของทารกจะพับแนบอยู่กับหน้าท้อง ส่วนขาจะเหยียดที่เขาทั้งสองข้างของเท้าพาดไปบริเวณหน้าอก หรือหน้าท้องของทารกเอง พบภาวะแทรกซ้อนของการคลอดสูงจากขาที่เหยียดขึ้นไปทำให้ทารกงอลำตัวไม่ได้ เมื่อการคลอดคืบหน้า
Complete breech หรือ Flexed breech พบเพียงร้อยละ 5 ทารกอยู่ในท่างอสะโพก และงอเข่าทั้งสองข้างบางทีเหมือนขัดสมาธิ แต่ส่วนใหญ่อยู่ในลักษณะนั่งยอง ๆ
Incomplete breech หมายถึงท่าก้นที่มีส่วนของขายื่นต่ำกว่าระดับ Sacrum พบได้ร้อยละ 25แบ่งออกเป็น
3.1 Single footling เท้าขึ้นออกมาเพียงข้างเดียว
3.2 Double footling เท้ายื่นออกมาทั้ง 2 ข้าง Knee presentation สะโพกเหยียดทั้งสองข้าง แต่กลับไปงอที่เขาเป็นส่วนลงมาก่อน อาจจะข้างเดียวหรือเข่าทั้ง 2 ข้างก็ได้
ภาวะแทรกซ้อนต่อมารดาและทารก
ภาวะแทรกซ้อนต่อมารดา
1.การฉีกขาคของหนทางคลอด มดลูกแตกจากการคลอดยาก คลอดติดขัด
2.ตกเลือดหลังคลอด (postpartum hemorrhage)
3.ติดเชื้อ พบว่าการเสียเลือดทำให้ติดเชื้อได้ง่าย
4.อันตรายจากการได้รับยาสลบ
ภาวะแทรกซ้อนต่อทารก
1.กระดูกหักและข้อเคลื่อน พบที่ข้อสะโพกและ ไหล่มากกว่าข้ออื่นๆ
2.เลือดออกในสมอง จากการดึงที่รุนแรง
ขาดออกซิเจน (asphyxia)
4.อันตรายต่ออวัยวะภายในช่องท้อง
5.แขนและไหล่เป็นอัมพาต (Erb-Duchenne paralysis) อันตรายต่อเส้นประสาท brachial(brachial plexus)
6.กล้ามเนื้อ stenomastoid ฉีกขาด
7.เส้นเอ็นเล็ก ๆ ที่อยู่ใต้ลิ้นฉีกขาด (frenulum)
การผ่าตัดคลอดทางหน้าคลอด
ความหมาย
การผ่าตัดคลอด (Cesarean section) ห มายถึงการ ทำคลอดทารกโดยผ่านทางผนังหน้าท้อง(laparotomy) และผนังมดลูก (hysterotomy) โดยทารกต้องสามารถมีชีวิตรอดได้ หากเป็นการผ่าตัดนำทารกออกจากช่องท้องใน รายที่มดลูกแตก หรือตั้งครรภ์ในช่องท้อง หรือทารกน้ำหนัก น้อยกว่า 1,000กรัม สำหรับในกรณีที่ผ่าตัดเช่นนั้น เราใช้คำว่า hysterotomyซึ่งไม่รวมถึงการผ่าตัด abdominalpregnancy, rupture uterus หรือ hysterectomy ในราย abortion
ข้อบ่งชี้ในการผ่าตัดคลอด
1.ข้อบ่งชี้การผ่าตัดคลอดโดยสมบูรณ์ (absolute indication) เป็นข้อบ่งชี้ที่ต้องทำการผ่าตัดอย่างแน่นอน หากปล่อยให้คลอดเอง อาจมีอันตรายต่อมารดาและทารก
ข้อบ่งชี้การผ่าตัดคลอดโดยอนุโลม (relative indication) เป็นข้อบ่งชี้ที่อาจจะผ่าตัด หรืออาจจะคลอดทางช่องคลอดก็ได้ แล้วแต่สภาวะของมารคาหรือทารก ว่าจะมีความเสี่ยงหรืออันตรายมากน้อยแค่ไหนและอย่างไร
ประเภทของการผ่าตัดคลอดทางหน้าคลอด
มี 2 แบบ ได้แก่
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องแบบฉุกเฉิน (emergency cesarean birth) เป็นการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องที่ไม่ได้วางแผนล่วงหน้า ผลลัพธ์ทางจิตสังคมของมารดที่ผ่าตัดคลอดดังกล่าวมักเป็นทางลบเมื่อเปรียบเทียบกับการผ่าตัดแบบวางแผนล่วงหน้า โดยปกติการผาตัดคลอดแบบฉุกเฉิน มารดาจะเข้าสู่การผ่าตัดคลอด ด้วยความเหนื่อยล้ำหลังจากการคลอดที่ขากลำบาก มารดาจะวิตกกังวลเกี่ยวกับความปลอดภัยของตนเองและทารกในครรภ์
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องแบบวางแผนถ่วงหน้า (elective cesarean birth) เป็นการการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องที่กำหนดไว้ล่วงหน้า เมื่อมารดามีข้อบ่งห้ามการคลอดทางช่องคลอด เช่น รกเกาะต่ำชนิดสมบูรณ์ (placenta previa totalis)ติดเชื้อเริมที่อวัยวะเพศ หรือเมื่อสูติแพทย์และมารดาตัดสินใจผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องซ้ำ
ภาวะแทรกซ้อนของการผ่าตัดคลอด
ทารกได้รับอันตรายจากการผ่าตัดคลอด เช่น ถูกมีดบาด กระดูกหัก ข้อเคลื่อน เป็นต้น ทารกเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาในระบบทางเดินหายใจและพร่องออกซิเจน เนื่องจากการผ่าตัดคลอดจะไม่มีแรงบีบอัดต่อทรวงอกทารกขณะผ่านหนทางคลอด ทำให้ของเหลวภายในปอดและทางเดินหายใจของทารกไม่ถูกบีบไล่ออกมา
ภาวะแทรกช้อนต่อผู้คลอด
1.ขณะผ่าตัด เกิดอันตรายต่ออวัยวะภายในช่องท้อง เช่น ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ ลำไส้เป็นต้นเกิดภาวะแทรกซ้อนจากยาระงับความรู้สึก เช่น สำลักเศยอาหาร ความดันโลหิตต่ำ ตกเลือด (≥1,000)มิลลิลิตร ช็อกเป็นต้น ในรายที่มีภาวะรกเกาะต่ำ รกลอกตัวก่อนกำหนด หลอดเลือดที่ตัวมดลูกฉีกขาดรกค้างหรือมดลูกหดรัดตัวไม่ดี อาจเกิดการเสียเลือดมากขึ้น
2.หลังผ่าตัด ลำไส้อึดแน่น (paralytic ileus) ติดเชื้อที่มดลูกหรือแผลผ่าตัด มักจะพบในรายที่มีภาวะเสี่ยง ได้แก่ โลหิตจาง ถุงน้ำคร่ำแตกนาน ได้รับการตรวจทางช่องคลอดหลายครั้งในการเจ็บครรภยาวนาน ติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ ตกเลือดในช่องท้อง ในรายที่รุนแรงอาจเสียชีวิต และอาจเกิดtromboembolism disease ได้
ช่วยคลอดด้วยคีมและเครื่องดูโสุญญากาศ