Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาที่มีความผิดปกติทางจิตใจหลังคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลมารดาที่มีความผิดปกติทางจิตใจหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงของความไม่สมดุลย์ทางสภาพอารมณ์ ที่พบหลังคลอด
ความตึงเครียด วิตกกังวล กระสับกระส่าย
อารมณ์ทางกาย เช่น หายใจลำบาก ใจสั่น
ความรู้สึกเศร้าโศก
ต้องการนอนพักผ่อนนานๆ
ร้องไห้โดยไม่มีเหตุผล ควบคุมอารมณ์ไม่ได้
ความสนใจลดลง
ความผิดปกติของจิตใจของมารดาหลังคลอด มี 3 ชนิด
อารมณ์เศร้าหลังคลอด
มักเกิดขึ้นในวันที่3/4 ภายหลังคลอด เรียกได้หลายอย่าง เช่น four-day หรือ baby blues อาการนี้จะมีเพียง 2-3วัน หายไปภายในวันืั่ 10
สาเหตุ
การลดระดับฮอร์โมนเอสโตเจนและโปรเจสเตอโรน ความเครียดจากการอดนอน อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
จิตใจหมนหมอง หดหู้ ร่วมกับการมีความรู้สึกท้อแท้ หมดหวัง หงุดหงิด ขาดความสนใจ อาการเป็นนานเกิน 2 สัปดาห์
ความเศร้าจะรุนแรงและแสดงให้เห็นได้โดยพฤติกรรมที่เปลี่ยนจากเดิม
อาการท้อแท้ หมดหวัง มองโลกในแง่ร้าย
มีท่าทางเหนื่อยง่าย
รู้สึกตนเองไร้ค่า
จิตใจหดหู้ หม่นหมอง
รู้สึกจุกแน่นในอก
นิสัยการนอนเปลี่ยนไป
ไม่อยากอาหาร
อาการแบ่งออกเป็น 3 ระยะ
มีอการเศ้ราโศกภายหลังคลอด ฝันน่ากลัว และมีความคิดฆ่าตัวตาย
ระยะสองอาจเกิดขึ้นช่วง 1-3เดือนหลังคลอด จากการที่มารดาพยายามจะนำทารกรวมเข้าเป็นสมาชิกในครอบครัว
ระยะสาม อาจใช้เวลานาน 1ปีภายหลังคลอด จากการพที่มารดาพยายามปรับตัวต่อบทบาทการเป็นมารดา
แนวทางในการพยาบาล
ดูแลให้มารดาได้รับการพักผ่อนเพียงพอ โดยอาจนำบุตรมาให้มารดาเลี้ยงช่วงกลางวันและมีผู้ช่วยดุแลตอนกลางคืน
ให้มารดาได้รับความสุขทางกาย
พยาบาลควรให้ความสนใจต่อการพุดคุยกับมารดา
การให้คำแนะนำในการปฎิบัติตนและการเลี้ยงดู
ให้กำลังใจและกล่าวคำชมเฉย
จัดให้มารดาเข้ากลุ่มทำกิจกรรมร่วมกับมารดาอื่น
โรคจิตหลังคลอด
จะเกิดขึ้นในระยะ 48-72 ชม.แรกหลังคลอด
มารดาที่เริ่มมีอาการทางจิต จะมีอาการของโรคจิตชนิดใดชนิดหนึ่ง คือ
โรคจิตเภท
โรคซึมเศร้า
โรคแมนเนีย
โรคจิตเนื่องจากสมองพิการ
การป้องกันการเกิดความผิดปกติทางจิตใจในมารดาหลังคลอด
การส่งเสริมให้มารดาสามารถปรับตัวให้เกิดสมดุลของร่างกายและจิตใจ ช่วยเหลือให้มารดาเผชิญกับความตึงเครียด