Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นางเอ ( นามสมมติ ) อายุ 37 ปี G3P2A0 GA 40+3 wks Dx.Z348 Supervision of…
นางเอ ( นามสมมติ ) อายุ 37 ปี G3P2A0 GA 40+3 wks
Dx.Z348 Supervision of other normal pregnancy
ข้อมูลส่วนตัว
ปริมาณน้ำหนักในช่วง 3 ครั้งสุดท้ายของการฝากครรภ์ คือ 12/3/64 น้ำหนัก 86 กิโลกรัม 19/3/64 น้ำหนัก 84.3 กิโลกรัม 25/3/64
น้ำหนัก 81.6 กิโลกรัม 1/4/64 น้ำหนัก 81.5 กิโลกรัม
ปฏิเสธประวัติการเจ็บป่วยของบุคคลภายในครอบครัว
ปฏิเสธประวัติการเคยได้รับการผ่าตัด และการเจ็บป่วยเรื้อรัง
อื่นๆที่มีผลต่อภาวะสุขภาพ
สองเดือนก่อนเข้ารับการฝากครรภ์ แพทย์üินิจฉัยเป็น Hypertension และให้ยาลดความดันมารับประทาน
ปฏิเสธการแพ้ยา เลือด และสารเคมีทุกชนิด
ปฏิเสธประüัติการใช้สารเสพติดทุกชนิด
ปัญหาที่พบเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร
มีอาการแพ้ท้องมาก
ให้ดื่มนมร้อนๆหรือเครื่องดื่มร้อนๆ
หลีกเลี่ยงอาหารมันหรือรสจัดให้กินอาหารอ่อนๆที่ย่อยง่ายและกินอาหารที่ยังอุ่นๆแบ่งเป็นมื้อย่อยๆวันละ 5-6 มื้อ
ให้จิบน้ำอุ่นๆหรือดื่มน้ำขิงอุ่นๆหากรู้สึกคลื่นไส้
ให้อมล๔กอมบ่อยๆจิบน้ำหวานหรือน้ำผลไม้ทีละน้อยบ่อยๆเพื่อให้พลังงานป้องกันภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ควรดื่มน้ำอุ่นๆและกลั่วคอล้างกลิ่นอาจทำให้รู้สึกคลื่นไส้พะอืดพะอมหลังจากอาเจียนแล้ว
ควรหากิจกรรมเพลินๆเพื่อลดความเครียดและความรู้สึกคลื่นไส้
ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบัน
G3P2A0 GA 40+3 wks
วันที่ฝากครรภ์ครั้งแรก 12 ต.ค. 63 อายุครรภ์ 15+2 สัปดาห์
LMP EDC รู้สึกลูกดิ้นครั้ง
แรกวันที่ 27 ต.ค. 63
ความสูง160 เซนติเมตร หนักก่อนตั้งครรภ์ 78 กิโลกรัม BMI 30.46 kg/m*m
ยาที่ใช้ระหว่างการตั้งครรภ์ Hydralazine 1
2 และ Metyldopa 1
2
ปัญหาระยะคลอด :
มารดายังคงมีปัญหาในเรื่องของความดันโลหิตสูง
ทารกมีพบภาวะแทรกซ้อนคือ Caput Succedaneum Right parietal 6 cm.
สาเหตุ
การเกิดบวมน้ำบริเวณใต้ช้ันผิวหนังของกะโหลกศีรษะ
เกิดจากหลอดเลือดบริเวณศีรษะถูกกด
เกิดจากศีรษะของทารกถูกกดขณะคลอด
ถูกบีบรัดโดยปากมดลูกเป็นเวลานาน
คือ ก้อนโนบนกะโหลกศีรษะในชั้นของหนังศีรษะหมายถึง การบวมน้ำของเนื้อเยื่ออ่อนของหนังศีรษะมีขอบเขตไม่ชัดเจนอาจข้ามรอยประสานของกระดูกกะโหลกศีรษะได้
อาการแสดง
พบได้ทันทีแรกเกิด โดยคลำพบก้อนบวมได้บริเวณ occipito parietal region
รอยบวมข้ามรอยต่อของกระดูกกะโหลกศีรษะ
คลำขอบเขตได้ไม่ชัดเจน
ก้อนจะค่อยๆเล็กลง และหายไปภายใน 36 ชั่วโมง หรือ 2-3 วัน
ใช้นิ้วกดจะเป็นรอยบุ๋มภายหลังปล่อยนิ้วออก
ภาวะสุขภาพมารดาหลังคลอด
ภาวะตกเลือดหลังคลอด
การเสียเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 500 มิลลิลิตรจาก
กระบวนการ คลอดปกติและมากกว่าหรือเท่ากับ1,000 มิลลิลิตร จากการผ่าตัดคลอด
สาเหตุของการตกเลือดหลังคลอดที่สำคัญ
Tone คือ
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี (Uterine atony)
Traumaคือ การฉีกขาดของช่องทางคลอด ( Laceration of the genital tract)
Tissue คือ การมีเศษรก/
เนื้อเยื่อ หรือ รกค้าง
Thrombin คือ ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด
Chronic hypertension
ภาวะความดันโลหิตที่พบตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์หรือก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์หรือยังคงมีความดันโลหิตสูงในช่วงหลังจาก 12 สัปดาห์หลังคลอด
เพิ่มเติม
ไม่ต้องการมีบุตรเพิ่มต้องการข้อมูลเกี่ยวกับ วิธีการคุมกำเนิด
การคุมกำเนิดแบบถาวร (Permanant
conception)
(Female sterization หBอ
tubal resection, TR) เป็นการป้องกันการตั้งครรภ์โดยการทำให้ท่อนำไข่ตีบตันทั้ง2ข้างโดยการผูกหรือตัด
ระยะหลังคลอด การทำหมันเปียก
ระยะปกติ ทำหมันแห้ง
นางสาวอามานี กูบาเล๊าะ 61110581