Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 4 จิตวิทยาการศึกษากลุ่มปัญญานิยม - Coggle Diagram
หน่วยที่ 4 จิตวิทยาการศึกษากลุ่มปัญญานิยม
ความเป็นมาและแนวคิด
ความเป็นมา
วิชาจิตวิทยาเริ่มขึ้นเมื่อตันศตวรรษที่ 20 โดยวิลเฮล็ม วุนด์ (1832-1920) ซึ่งให้ความสนใจกับใจของบุคคล จิตวิทยาได้พัฒนาสู่แนวความคิดแบบสัมพันธนิยม (Associationism) โดยเอปบิงฮอส์ (1850-1949) และพัฒนาสู่พฤติกรรมนิยมซึ่งเน้นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับพฤดิกรรมของวิทยาที่มีชื่อเสียงระยะนี้คือ พาฟลอฟ วัตสัน และสกินเนอร์ (1849-1990) บุริคไนเป็นผู้จุดประกายและสร้างความชัดเจนของปัญญานิยม นับเป็นจุดเริ่มตันของจิตวิทยาปัญญานิยม โดยนักจิตวิทยาปัญญานิยมระยะแรก ได้แก่ มิลเลอร์ กาแลนเตอร์ ไพรบราม นีเวล ชอร์และไซมอน นักจิดวิทยาปัญญานิยมที่มีชื่อเสียง เช่น เพียเจท์ วีก็อตสกี ชิฟฟริน ไซเกลอร์ บรูเนอร์ และออซูเบล
แนวคิด
ศึกษาคันคว้าเกี่ยวกับ การเรียนรู้การเรียน การจำ การลืม และการคิดของบุคคลความสำคัญ จิตวิทยาการศึกษากลุ่มปัญญานิยม มีความสำคัญต่อผู้เรียน และบุคคลฝ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้เรียน โดยช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจและพัฒนาตนเองในการเรียนรู้ และทำให้ฝ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเข้าใจและสามารถพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพขอบข่าย จิตวิทยาการศึกษากลุ่มปัญญานิยมส่วนใหญ่มุ่งอธิบาย 6 ประเด็น
1) ธรรมชาติของความรู้
2) การเรียนรู้และพัฒนาการของความรู้
3) การบังคับควบคุมตนเองในการเรียนรู้
4) การประยุกต์ใช้ทางการศึกษา
5) ความสัมพันธ์กับประสาทวิทยา
6) การคิดในระดับสูง
ทฤษฎี
3. ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบและทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
สาระสำคัญของทฤษฎีการเรียนรู้โดยการดันพบธรรมชาติของความรู้ บรูเนอร์ระบุว่าคนเรียนได้ 3 วิธีคือ โดยลงมือทำ โดยจิตนาการ หรือโดยใช้สัญลักษณ์ พัฒนาการของความรู้คือ ความสามารที่จะเรียนรู้ด้วยวิธีการดังกล่าว บุคคลมีพัฒนาการเป็นขั้นๆ ตามช่วงวัย เริ่มจากการลงมือทำเป็นวิธีกเรียนรู้หลักในวัยดัน เน้นใช้อวัยวะและกล้ามเนื้อใหญ่ วัยต่อมาเรียนรู้โดยการสร้างจินตนาการ เน้นเน้นและจินตนาการ แต่ยังมีลักษณะการเรียนรู้สิ่งที่เป็นรูปธรรม วัยที่ 3 คือเรียนรู้โดยสัญเกี่ยวระหว่างการเรียนรู้ที่เป็นรูปธรรมกับนามธรรม ในด้านการควบคุมตนเองในการเรีดสภาพแวดล้อม เสนอปัญหา และเรียมข้อมูลที่จำเป็นให้ ผู้เรียนควบคุมตนเองในการเรียนรู้เพื่ยคือ การคันพบ จุดเด่นของทฤษฎีนี้คือ ผู้เรียนมีการควบคุมตนเองในการเรียนรู้สูงเป็นนักดันคว้า นักวิจัย แต่ผู้สอนต้องเตรียมการให้ดี และผู้เรียนต้องมีแรงจูงใจในตนเองสูงมากจึงจะได้ผลดี
สาระสำคัญของทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย ทฤษฎีนี้เนันการเรียนรู้แบบนิรนัย (ขณะที่ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการดันพบเน้นการเรียนรู้แบบอุปนัย) ผู้สอนเป็นผู้นำเสนอมโนทัศน์ ให้ตัวอย่างทำให้ดูเป็นตัวแบบ แล้วนักเรียนลงมือทำด้วยตนเอง จากกฎ หลักเกณฑ์ ทฤษฎี ผู้เรียนทำความเข้าใจและนำไปขยายกับกรณีเฉพาะต่างๆ ผู้เรียนดวบคุมตนเองในส่วนของการที่จะต้องเรียนรู้ด้วยความใส่ใจและเข้าใจให้มากที่สุด จุดเด่นของทฤษฎีนี้คือ ผู้เรียนเรียนรู้ได้เร็ว เรียนได้มาก มีโอกาสทดลองใช้กับกรณีเฉพาะได้อย่างกว้างขวางเพราะมีเวลามาก แต่จะไม่เกิดผลดีนักถ้าผู้เรียนเนท่องจำโดยไม่พยายามทำความเข้าใจ
3.การประยุกต์ใช้
ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้น
การเรียนการสอน ทำได้โดยเน้น 4 ดัาน
1.สร้างให้เกิดแรงจูงใจที่จะเรียนในตัวผู้เรียน
2.เสนอบทเรียนอย่างเป็นระบบที่เหมาะสม
3.การสอนอย่างมีลำดับขั้นตอน
4.ใช้รางวัลเสริมการเรียนรู้ เปลี่ยนผ่านรางวัลจากภายนอกสู่ภายในจิตใจผู้เรียน
ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
1.เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอน
2.เน้นผู้เรียนเรียนอย่างกระตือรือรัน
3.มีการเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม
4.การสอนโดยใช้สิ่งช่วยจัดมโนทัศน์ล่วงหน้า
1.ทฤษฎีโครงสร้างนิยม
ให้ความสำคัญมากที่สุดคือ โครงสร้างทางปัญญาหรือการรู้ดิดกับการเรียนรู้ของบุคคล การเรียนรู้ใหม่ก็คือการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในโครงสร้างทางปัญญาของบุดคล โดยอาจมีลักษณะที่ปรับความรู้ใหม่เข้ากับโดรงสร้างทางปัญญา หรือปรับโดรงสร้างทางปัญญาเข้ากับความรู้ใหม่แตกต่างระหว่างทฤษฎีของเพียเจท์กับทฤษฎีของวีก็อตสกีคือ ทฤษฎีของเพียมีบทบาทสำคัญในการียนรู้ และเห็นว่ามโนทัศน์มีหลากหลาย ส่วนทฤษฎีของวีก็อตสกี เเรียนที่ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมวัฒนธรรมด้วยการใช้สื่อกลางต่างๆ เช่น ภาษาและสัญลักษณ์ มโนทัศน์ที่เด็กเรียนรู้มีแบบเดียว การเรียนของเด็กที่เกินขอบเขตดวามสามารถในการเรียนรู้ อาจทำได้โดยการชี้แนะจากผู้มีความสามารถที่มากกว่า
การประยุกต์ใช้
1.ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสนำทางเลือกใหม่ไปใช้วิทยาศาสตร์ของผู้เรียน
2.เน้นพัฒนาโครงสร้างทางปัญญาหรือการรู้คิดของผู้เรียน
3.เรียนโดยได้ลงมือปฏิบัติ
4.ผู้สอนช่วยให้ผู้เรียนได้พบความกะจ่างในความรู้ใหม่
5.เนันให้ผู้เรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนรู้มากขึ้นกว่าเดิม
6.ผู้สอนควรดำนึงถึงและจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับขอบเขตความสามารถในการเรียนรู้
2. ทฤษฎีการประมวลสารสนเทศ
ทฤษฎีนี้เชื่อว่าความรู้มี 2 ชนิด คือความรู้ที่เป็นเนื้อหา และความรู้ที่เป็นวิธีการ ความรู้เหล่านี้เกิดขึ้นในตัวยุดคลโดยที่บุคคลได้รับรู้ผ่านประสาทสัมผัสเข้าสู่กระบวนการในการเก็บจำ ผลของการเก็บจำคือ จำได้หรือลืมไปบางส่วน ส่วนที่จำได้จะระลึกได้เมื่อต้องการหรือในบางสภาวะ4-26จิดวิทยาและวิทยาการการเรียนรู้พัฒนาการของความรู้และการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการ 3 ระยะ
ระยะที่ 2 ความจำระยะสั้น
ระยะที่1 รับสารสนเทศผ่านประลาทสัมผัส
ระยะที่ 3 ความจำระยะยาว
การประยุกต์ใช้
1) ผู้สอนดำเนินการภาพแวดล้อมและบรรยากาศที่งเสริมให้เกิดการประมวลสารสนเทศอย่างมีปร
2) จัดเตรียมสารสนเทศที่มีคุณภาพ มีความเพียงพอ เป็นระบบ ทั้งสารสนเทศที่เป็นเนื้อหา และสารสนเทศที่เป็นวิธีการ
3) ควรจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับศักยภาพในการเรียนรู้ของผู้เรียน
4)ควรแนะนำหรือส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ยุทธวิธีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียน