Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 จิตวิทยาพื้นฐานเพื่อการแนะแนวและการบริหารจัดการชั้นเรียน -…
หน่วยที่ 7 จิตวิทยาพื้นฐานเพื่อการแนะแนวและการบริหารจัดการชั้นเรียน
ความเป็นมาและความสำคัญ
ความเป็นมา
มีต้นกำเนินมาเป็นระยะเวลายายาวนาน เป็นการศึกษาถึงหน้าที่และกระบวนการทางจิตและพฤติกรรมมนุษย์อย่างเป็นระบบ ดังนั้น จิตวิทยาพื้นฐานจึงมีขอบข่ายที่กว้างขาง ครอบคลุมทุกๆ ด้านของมนุษย์ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม ความคิด สติปัญญา ตลอดจนพฤติกรรมมนุษย์
ความสำคัญ
2.ทำนายพฤติกรรมบุคคลและสังคม
3.เพื่อควบคุมพฤติกรรมของบุคคลและสังคม
1.เพื่ออธิบายหรือเข้าใจพฤติกรรมบุคคลและสังคม
พื้นฐานการแนะแนว
ความหมาย
เป็นกระบวนการช่วยเหลือบุคคลให้เข้าใจตนเองและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้สามารถตัดสินใจได้ว่าจะศึกษาด้านใด ประกอบอาชีพใด หรือแก้ปัญหาอย่างไร
บริการ
1.สำรวจและรวบรมข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคล
2.บริการสนเเทศ
3.บริการให้การปรึกษา
หลักการ
1.การแนะแนวทาจัดขึ้นเพื่อพัฒนาบุคคลทุกด้าน
2.จัดให้ผู้เรียนทุกคน
3.เน้นความแตกต่างระหว่างบุคคล
4.เกิจากความร่วมมือ
5.เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทางการศึกษา
6.จะต้องจัดบริการให้ครอบคลุมทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ (1) การแนะแนวการศึกษา (2) การแนะแนว อาชีพ (3) การแนะแนวส่วนตัวและสังคม
7.เน้นในเรื่องการป้องกันปัญหามากกว่าการแก้ไขปัญหา
เป็นต้น
การประยุกต์
1.ให้ความสำคัญกับบุคล
2.ให้บุคลรู้สึกว่าตนเงมีคุณค่า
3.ช่วยให้เชื่อมั่นในตนเงว่าเขาสามารถแก้ไขปัญหานั้นได้และพัฒนาตนเองได้
พื้นฐานการบริการในชั้นเรียน
ความหมาย
หมายถึง การสร้างและการรักษาสิ่งแวดล้อมของห้องเรียนเพื่อเอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียน รวมทั้งวิธีการสร้างระเบียบวินัยในห้องเรียน เพื่อรักษาสภาพบรรยากาศในห้องเรียน ช่วยให้การเรียนการสอนดำเนินไปอย่างราบรื่น นักเรียนเกิดความร่วมมือในกิจกรรมการเรียนรู้
หลักการ
ชั้นเรียนควรมีสีสันที่น่าดูสบายตา มีอากาศถ่ายเทได้ดี แสงสว่างเพียงพอ ไม่มีเสียงรบกวน อากาศไม่เป็นพิษ ไม่ร้อนจนเกินไป มีต้นไม้ ดอกไม้ประดับ และมีขนาดกว้างขวางอย่างเพียงพอ
สะอาดถูกสุขลักษณะ เป็นระเบียบเรียบร้อย น่าอยู่มีบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมคล้ายคลึงกับชีวิตในบ้าน ในครอบครัวของนักเรียน
สิ่งที่อยู่ในชั้นเรียน ไม่ว่าจะเป็นโต๊ะ เก้าอี้ มุมหนังสือ ป้ายนิเทศ สื่อการสอน ประเภทต่างๆสามารถเคลื่อนไหว เคลื่อนที่ได้ สามารถจัดหรือดัดแปลงชั้นเรียนให้มีลักษณะเอื้ออำนวยต่อการสอนและกิจกรรมประเภทต่างๆ ได้
นักเรียนเรียนรู้ในชั้นเรียนอย่างมีความสุข มีอิสระ
จัดมุมหนังสือ มุมประสบการณ์ สื่อการสอนบางประเภทให้เพียงพอ และมีประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของนักเรียน
ชั้นเรียนที่ดีไม่จำกัดเฉพาะในห้องสี่เหลี่ยมที่กำหนดให้เท่านั้น
เป็นต้น
การประยุกต์ใช้
1.การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียน จะต้องยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.ทำความเข้าใจกับประสบการณืเดิมของผู้เรียนแต่ละคน
3.ศึกษาถึงพฤติกรรมของบุคคล
4..สร้างแรงจูงใจและการเสริมแรง
เป็นต้น