Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มารดา 28 ปี G2P1A0L1 GA 30 wks.by u/s Twin pregnancy c hypothyroid -…
มารดา 28 ปี G2P1A0L1 GA 30 wks.by u/s
Twin pregnancy c hypothyroid
Thyroid
3ต่อม 3hormone
Hypothalamus
TRH
Pituitarygland
TSH
Thyroidgland
T3 T4
Hypothyroidism
TSH⬆️ T4⬇️
PituitaryglandผลิตTSHไปกระตุ้นThyroidglandน้อยกว่าปกติหรือมีการอักเสบของต่อมไทรอยด์
เซลล์ต่อมไทรอยด์ถูกทำลาย
ไม่สามารถผลิตฮอร์โมนได้
เกิดภาวะautoimmune thyroid หรือ Hashimoto’s thyroiditis
มีประวัติโรคประจำตัวเป็นไทรอยด์ตั้งแต่ครรภ์แรก
อาการ
เหนื่อยง่าย ซึมเศร้า หงุดหงิดงาย อยากรับประทานอาหารน้อย น้ำหนักลด เฉื่อย
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์70kg
GA 3เดือน 69 kg
GA 4เดือน 68 kg
น้ำหนักลด
ผลกระทบ
มารดา
แท้ง
ครรภ์เป็นพิษ
คลอดก่อนกำหนด
ทารก
ตายในครรภ์
น้ำหนักตัวทารกแรกเกิดน้อย
Levothyroxine(100)1x1 oral
Hyperthyroidism
T3 T4 ⬆️
สาเหตุ
โรคของต่อมไทรอยด์ เช่น Graves’disease
การได้รับยาไทรอยด์ฮอร์โมนมากกว่าปกติ
ต่อมไทรอยด์ฮอร์โมนทำงานมากกว่าปกติจากการตั้งครรภ์ เช่น แฝด การตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก
ผลกระทบ
มารดา
ภาวะpreeclampsia
ภาวะหัวใจล้มเหลว
เสียชีวิต
ทารก
คลอดก่อนกำหนด
การเขริญเติบโตช้าในครรภ์
แรกคลดน้ำหนักน้อย
อาการ
ใจสั่น ความดันโลหิตสูง มือสั่น เหงื่ออกมาก กินเก่ง กินจุ น้ำหนักลด เหนื่อยง่าย
F/U ทุก2เดือน
Twin
ตรวจร่างกาย
คลำพบ Ballottement ได้ 2 ตำแหน่ง
คลำได้ last part ได้ชัดเจน 2 ตำแหน่ง
วัดระดับยอดมดลูก2/4เหนือสะดือหรือ30cm
HF>GA
ฟังเสียงหัวใจทารกได้สองตำแหน่งซึ่งมีช่วงอัตราการเต้นของหัวใจต่างกัน148,134ครั้ง/นาที
ประวัติที่สนับสนุนครรภ์แฝด
ประวัติการตั้งครรภ์ที่เกิดจากเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์
ประวัติครรภ์แฝดในครอบครัว โดยเฉพาะญาติฝั่งมารดา
เชื้อชาติพบมากในผิวดำ
อายุมารดามาก หรือเป็นครรภ์หลัง หรือมารดาตัวใหญ่
อาการคลื่นไส้อาเจียนมากกว่าปกติ
อ่อนเพลีย
พบภาวะซีด พบเบาหวานร่วมกับการตั้งครรภ์ รกเกาะต่ำ เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากครรภ์แฝด
ด้านมารดา
คลื่นไส้อาเจียนมากกว่าปกติ จาก HCG ที่สูง
การเกิดภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ เนื่องจากมีรกหลายอัน ทำให้มี HPL สูง ทำให้ต้านการทำงานของอินซูลิน
การเกิดภาวะซีด เนื่องจากมีการเพิ่มปริมาณเลือดจากที่ไม่ได้ตั้งครรภ์ ร้อยละ 50-60 แต่มีเม็ดเลือด
แดงเพิ่มประมาณ ร้อยละ 30
มีอาการบวม โดยเฉพาะที่ขา
คลอดก่อนกำหนด
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด (PROM)
การเกิดความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ หรือครรภ์เป็นพิษ
ด้านทารกโดยทั่วไป
แท้ง
คลอดก่อนกำหนด
ทารกตัวใดตัวหนึ่งหรือทั้งคู่โตช้าในครรภ์
Antepartum management
อัลตราซาวน์เพื่อจำแนกประเภทของครรภ์แฝด เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนของทารก
โดยเฉพาะครรภ์แฝดชนิด Monochorion Monoamnion
ตรวจติดตามการเจริญเติบโตของทารกเป็นระยะๆ ด้วยอัลตราซาวน์
Dichorion Diamnion 4-6 wks
Monochorion monoamnion เริ่มu/s GA16wks ติดตามทุก2wks
ดูแลด้านโภชนาการ โดยมีความต้องการเพิ่มจากครรภ์เดี่ยว 300-500 กิโลแคลอรีต่อวัน
ติดตามความเข็มข้นเลือด ระวังภาวะซีด โดยให้กรดโฟลิคเสริม ควรเพิ่มธาตุเหล็กวันละ 60-90
ANC