Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อุปสงค์ อุปทาน และต้นทุนของบริการสุขภาพ, นางสาววชิราภรณ์ ทัศคร…
อุปสงค์ อุปทาน และต้นทุนของบริการสุขภาพ
อุปสงค์ (Demand) หมายถึง ปริมาณความต้องการซื้อสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งของผู้บริโภคที่เต็มใจ จะซื้อและซื้อหามาได้ ณ ระดับราคาต่างๆที่ตลาดกำหนดให้
ปัจจัยที่ทำให้อุปสงค์เปลี่ยนแปลง
ราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง = สินค้าที่ทดแทนกันได้ เช่น เมื่อความต้องการใช้ยาลดไข้พาราเซตามอลลดลง ความต้องการใช้ยาแอสไพรินก็ลดลงด้วย
รายได้ = สินค้าราคาปกติ รายได้สูงขึ้น ความต้องการของรายได้ก็จะสูงขึ้นไปด้วย
กฎของอุปสงค์ (Law of Demand ) คือผู้บริโภคต้องการซื้อสินค้าและบริการในราคาต่ำมากกว่าซื้อสินค้าในราคาสูง
การเปลี่ยนแปลงของเส้นอุปสงค์ด้านสุขภาพ
ภาวะความเจ็บป่วย ระดับสุขภาพสะสม
เพศ อายุ เศรษฐกิจ รายได้ งบประมาณ ระดับการศึกษา
ความเชื่อและทัศนคติต่อการรักษาพยาบาลและบริการสุขภาพ
จำนวนสถานพยาบาลและจำนวนผู้ใช้บริการรวมทั้งจำนวนเตียงผู้ป่วย
การประกันสุขภาพและประกันสังคม
อุปทาน (supply) หมายถึง ปริมาณความต้องการเสนอขายสินค้าและบริการของผู้ขายในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคาต่างๆ กันโดยผู้ขายเต็มใจจะขาย
กฎของอุปทาน (Law of Supply) ถ้าราคาสินค้าและบริการสูงขึ้น ปริมาณเสนอขายจะเพิ่มขึ้น แต่ถ้าราคาสินค้าและบริการลดลง ปริมาณเสนอขายสินค้าจะลดลงตามไปด้วย
การเปลี่ยนแปลงของอุปทาน
ราคาของทรัพยากรการผลิต
จำนวนหน่วยผลิต
สถานการณ์ทางการเมืองและสภาวะทางอากาศ
เทคโนโลยีการผลิต
นโยบายรัฐบาล
การเปลี่ยนแปลงของอุปทานต่อราคา
จำนวนขายเปลี่ยนแปลงเมื่อราคานั้นเปลี่ยนแปลง โดยปัจจัยกำหนดคงที่ทำให้เส้นอุปทานไม่เปลี่ยนแปลง แต่เป็นการเคลื่อนย้ายเส้นอุปทาน (move along curve)
ประเภทของสินค้าและบริการสุขภาพ
1.สินค้าและบริการที่ใช้ทดแทนกันได้ เช่น ยาบางชนิด มีความไวในการเปลี่ยนแปลงราคาสินค้า และปริมาณเป็นไปทางเดียวกัน
2.สินค้าและบริการที่ใช้ประกอบกัน เป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องใช้ร่วมกัน
3.สินค้าและบริการปกติ ผู้บริการจะซื้อเพิ่มขึ้นเมื่อมีรายได้สูง และจะซื้อน้อยลงเมื่อมีรายได้ลดลง
4.สินค้าและบริการด้อยสุขภาพ ผู้รับบริการจะซื้อสินค้าและบริการลดน้อยลงเมือรายได้สูงขึ้น ซื้อน้อยลงเมื่อมีรายได้ลดลง
ราคาดุลยภาพ คือ ราคาที่ทำให้จำนวนสินค้าที่ผู้บริโภคต้องการซื้อและผู้ขายต้องการจะขาย โดยเส้นอุปสงค์และอุปทานของสินค้าและบริการตลาดตัดกัน ก่อให้เกิดราคาดุลยภาพ
ต้นทุนบริการสุขภาพ
1.กำหนดหน่วยต้นทุน แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
ต้นทุนไม่ก่อรายได้ (Non Revenue Producing cost Center) งานบริหาร เวชระเบียน
ต้นทุนก่อให้เกิดรายได้ (Revenue Producing cost Center) งานรังสี ชันสูตร ห้องคลอด
ต้นทุนบริการผู้ป่วย (Direct Patient Service) OPD ทันตกรรม
2.หาต้นทุนรวมทางตรง (Total Direct Cost)
แรงงาน , วัสดุ , ค่าลงทุน
3.หาต้นทุนทางอ้อม (Indirect Cost)
จัดสรรทุนโดยตรง
จัดสรรทุนโดยรวมในครั้งเดียว
จัดสรรทุนโดยรวมในสองครั้ง
จัดสรรทุนโดยรวมในหลายครั้ง
ใช้สัมการเส้นตรงและความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
อุปสงค์ส่วนเกิน (Excess Demand) ความต้องการซื้อ มากกว่าที่ผลิตได้ ดุลยภาพความต้องการจะเกิดขึ้น โดยระดับราคาและบริการจะค่อยๆสูงขึ้น
อุปทานส่วนเกิน (Excess Supply) ปริมาณการผลิตมากกว่าความต้องการ ดุลยภาพของการผลิตนสินค้าจะเกิดขึ้นโดยระดับสินค้าค่อยลดลงมาเท่ากับความต้องการ
นางสาววชิราภรณ์ ทัศคร นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตร์บัณฑิตชั้นปีที่ 3 เลขที่ 66 ห้อง B