Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 อุปสงค์ อุปทาน และต้นทุน ของบริการสุขภาพ, นางสาวสุภาพร บุระขันธ์…
บทที่ 5 อุปสงค์ อุปทาน และต้นทุน ของบริการสุขภาพ
Demand : อุปสงค์หมายถึง จำนวนสินค้าและบริการที่เกี่ยวข้อง
กฎของอุปสงค์
ระบุความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเสนอซื้อและราคาว่าจะเป็นไปในทิศทางตรงข้ามกัน (ความสัมพันธ์เชิงลบ)
การเปลี่ยนแปลงของเส้นอุปสงค์ด้านสุขภาพ
ภาวะความเจ็บป่วย
เพศ อายุ รายได้ครัวเรือน งบประมาณรัฐ ระดับการศึกษา
ความเชื่อ ทัศนคติต่อการรักษาพยาบาล
ข้อแนะนำจากบุคลากรทางการแพทย์
คุณภาพการรักษาพยาบาล
6.ราคายา ราคา บริการ
จำนวนสถานพยาบาลสาธารณสุข
8.จำนวนผู้ใช้บริการ
การประกันสุขภาพ การประกันสังคม
จำนวนประชากรทั้งหมดของประเทศ ต่อสถานพยาบาล ต่อจำนวนเตียง
อื่นๆ เช่น การเข้าถึง ความสะดวก
อุปทาน (Supply for health care)
คือปริมาณเสนอขายงานบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ ผู้ผลิตต้องการเสนอขาย ซึ่งผันแปรโดยตรงตามราคาของบริการนั้น
อุปทานด้านสุขภาพ ได้แก่
ปริมาณยา
ร้านขายยา
ปริมาณแพทย์ พยาบาล
สถานบริการสุขภาพ
คลินิกเอกชน เป็นต้น
การเปลี่ยนแปลงของอุปทาน
ราคาของทรัพยากรการผลิต
จำนวนหน่วยผลิต
สถานการณ์ทางการเมืองและสภาวะอากาศ
เทคโนโลยีการผลิต
นโยบายรัฐบาล
ราคาดุลยภาพ : Equilibrium Price
เป็นสภาวะที่สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทานของตลาดปริมาณเสนอ ซื้อกับปริมาณเสนอขายเท่ากัน
อุปสงค์ส่วนเกิน : Excess Demand
เมื่อ ความต้องการของผู้รับบริการมีมากกว่าที่ผลิตได้จะเกิดอุปสงค์ส่วนเกิน
อุปทานส่วนเกิน (Excess Supply)
ในทางตรงข้าม หากปริมาณการผลิตมีมากกว่าความต้องการงานบริการ จะเกิดอุปทานส่วนเกิน
การควบคุมอุปทานของบริการสุขภาพ
1.การควบคุมราคาค่าบริการสุขภาพ
การควบคุมปริมาณของบริการโรงพยาบาล
3.ควบคุมศักยภาพของโรงพยาบาล
กฏหมายป้องกันการผูกขาด
ต้นทุนการบริการด้านสุขภาพ
ขั้นตอนการวิเคราะห์ต้นทุนบริการด้านสุขภาพ
ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดหน่วยต้นทุน
ขั้นตอนที่ 2 การหาต้นทุนรวมทางตรง (Total Direct cost)
ขั้นตอนที่ 3 การหาต้นทุนทางอ้อม (Indirect cost)
ขั้นตอนที่ 4 การหาต้นทุนทั้งหมด (Full cost)
ขั้นตอนที่ 5 การหาต้นทุนต่อหน่วย (Unit cost)
จากการเปลี่ยนแปลงระบบการเงินโรงพยาบาลภาครัฐ เข้าสู่กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติในปี 2545
นางสาวสุภาพร บุระขันธ์ เลขที่ 3 ห้อง B